Page 6 - จดหมายข่าว วช 155
P. 6

ความรวมมือกับตางประเทศ

                                            วช. ชู Soft power ดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย


                                                 ในพิพิธภัณฑไทยและแหลงเรียนรูระดับนานาชาติ

                                     ณ Victoria and Albert Museum กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร














                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ  (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา  แหลงเรียนรูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม สงเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจ
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน ตัวอยางเชน พิพิธภัณฑในระดับโลกที่มีเปนจํานวนมากในสหราชอาณาจักร
          การวิจัยแหงชาติ เขาพบ Professor Dr. Colin Gale ผูเชี่ยวชาญดานสิ่งทอ  ทั้งนี้ ดร.วิภารัตน ฯ ไดกลาวขอบคุณ Professor Dr. Colin Gale
          และแฟชั่น, Head of Fashion on School, Birmingham City University  ที่ใหการตอนรับและรวมแบงปนเรื่องราวความเปนมา องคความรู ประสบการณ
          เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2566 ณ Victoria and Albert Museum กรุงลอนดอน  และแนวทางในการสรางสรรคงานจากสินคาทางวัฒนธรรมของไทย ซึ่งจะเปน
          สหราชอาณาจักร เพื่อรวมแลกเปลี่ยนและหารือแนวทางในโอกาสการพัฒนา ประโยชนกับการพัฒนาเปน Soft Power ดวยการวิจัยและนวัตกรรม พรอมนี้
          พื้นที่เรียนรูวิจัยดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทยในพิพิธภัณฑไทยและ วช. จะไดมีการสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาและวิจัย เพื่อพัฒนาแหลงเรียนรู
          แหลงเรียนรูระดับนานาชาติ พรอมดวย รองศาสตราจารย ดร.นํ้าฝน ไลสัตรูไกล  ในพื้นที่พิพิธภัณฑของไทยและแหลงเรียนรูประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย
          ผูเชี่ยวชาญดานการจัดการพิพิธภัณฑ ศิลปะและหัตถศิลป รวมหารือและ ในพื้นที่เรียนรูของพิพิธภัณฑระดับโลกในอนาคต
          แลกเปลี่ยนความเห็น โดยมีนางสาวศิรินทรพร เดียวตระกูล ผูเชี่ยวชาญดาน
          ระบบวิจัย วช. และ รองศาสตราจารย ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ ผูทรงคุณวุฒิ
          วช. รวมคณะ
                 การรวมหารือในครั้งนี้ ถือเปนโอกาสการสราง Soft Power
          ซึ่งไดรับขอคิดเห็นที่สําคัญและแนวทางการนําเสนองานศิลปะและวัฒนธรรม
          ที่ใหความสําคัญกับกระบวนการศึกษาวิจัย ที่สามารถสรางเปนตนแบบและ


                                 วช. และ British Council (BC) หารือแนวทางความรวมมือ

                    ในแผนงานวิจัยผานกองทุนความรวมมือดานวิทยาศาสตรระหวางประเทศ (ISPF)

                                        ณ British Council Office สหราชอาณาจักร












                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ  (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา   รวมกันระหวาง วช. และ British Council 2) การอบรมและพัฒนาบุคลากร
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน  หนวยบริหารจัดการทุนวิจัยและนวัตกรรม โดยจากการหารือระหวาง วช. และ
          การวิจัยแหงชาติ พรอมดวยนางสาวศิรินทรพร เดียวตระกูล ผูเชี่ยวชาญ  British Council มีแนวทางการเตรียมความรวมมือในประเด็นการทํางาน
          ดานระบบวิจัย วช. และ รองศาสตราจารย ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ ผูทรงคุณวุฒิ   รวมกัน โดยอยูบนพื้นฐานของเปาหมายและลําดับประเด็นความสําคัญของ
          วช. เขาเยือน British Council (BC) โดย Ms. Marta Tedros หัวหนาโครงการ  สหราชอาณาจักร โดยการมุงเนนการสนับสนุนทุนวิจัยแกหนวยงานวิจัย
          กองทุนความรวมมือดานวิทยาศาสตรระหวางประเทศ (International   มหาวิทยาลัย ตลอดจนภาคเอกชนในประเด็นแตกตางกัน
          Science Partnership Fund: ISPF) British Council ใหการตอนรับ เมื่อวันที่   ภายหลังการหารือ Ms. Marta Tedros ไดนํา ดร.วิภารัตน ฯ พรอมคณะ
          21 ธันวาคม 2566 ณ British Council Office สหราชอาณาจักร  เขาเยี่ยมชมนิทรรศการจัดแสดงงานความรวมมือกับนานาประเทศ พรอมกลาว
                 วช. และ British Council รวมหารือเพื่อเตรียมพรอมความรวมมือ  ขอบคุณและยินดีที่จะไดรวมงานกับ British Council ในอนาคตอันใกล
          ดานวิทยาศาสตรระหวางประเทศภายใตการดําเนินงานระหวาง วช. และ British   ผานกองทุน ISPF เพื่อใชประโยชนจากความรวมมือบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร
          Council ในปหนา ซึ่งประเด็นการหารือประกอบดวย 1) การดําเนินงานวิจัย  และเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศและทรัพยากรมนุษยรวมกัน
                                                                                        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
            6                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)




     ���������� �� 155.indd   6                                                                               31/1/2567   14:42:27
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11