Page 8 - จดหมายข่าว วช 155
P. 8
งานวิจัย : พืชสมุนไพร
การศึกษาพืชสมุนไพรทองถิ่นเพื่อเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ
สินคาพื้นถิ่นชนเผาอาขาสูการเสริมสรางเศรษฐกิจชุมชน
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร แกปญหาของชาวบาน รวมทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นจริงในชุมชน ซึ่งจะตอง
วิจัยและนวัตกรรม ไดสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมภายใตแผนงานวิจัยเพื่อ อาศัย “เวที” พูดคุยกัน ถกเถียง และรวมใช “ปญญา” เพื่อหาทางออกของปญหา
ทองถิ่น (CBR) ดานชนเผา แกนักวิจัย แหง ศูนยวิจัยเพื่อทองถิ่นดานชาติพันธุ - ชนเผา สําหรับแผนงานวิจัยเพื่อทองถิ่น (CBR) มุงเนนการลดความเหลื่อมลํ้า
จังหวัดเชียงราย เครือขายวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยชนเผาอาขา เพื่อดําเนินงานใหเกิด ในมิติดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม มิติดานเศรษฐกิจ มิติดานการศึกษา
การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑสินคาของชนเผาอาขาสูการเสริมสรางเศรษฐกิจ มิติดานความรู และมิติดานเชิงพื้นที่ ใชรูปแบบกระบวนการวิจัยแบบ
ชุมชนในพื้นที่อําเภอแมฟาหลวงและอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีสวนรวมของชุมชน (CBR) มุงเนนพัฒนากลไกการหนุนเสริมงานวิจัย
โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาพืชสูการสรางแหลงเรียนรูสมุนไพร เพื่อทองถิ่นใหมีศักยภาพ โดยการใชองคความรูทางวิชาการและเทคโนโลยี
อาหารพื้นบานในชุมชนชาติพันธุอาขา จังหวัดเชียงราย” โดยมี นายไกรสิทธิ์ โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับชุมชน สรางกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวาง
สิทธิโชดก เปนหัวหนาโครงการวิจัย ซึ่งเปนโครงการที่เกิดขึ้นจากกลุมคน นักวิชาการ ศูนยประสานงานวิจัย/โหนดพี่เลี้ยง ชุมชน และหนวยงาน
วัยตาง ๆ โดยเฉพาะกลุมผูสูงอายุของชุมชนบานแสนใจพัฒนา ตําบลแมสลองใน สวนทองถิ่น ในการสงเสริมแกไขและปองกันการสรางความเหลื่อมลํ้า ภายหลัง
อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย เนื่องจากเห็นวากระบวนการสรางความรู ที่ไดมีการดําเนินการวิจัยในแตละสวนโครงการยอย ไดทําการประเมิน
ความเขาใจ และสรางจิตสํานึกรักตอทรัพยากรธรรมชาติ ตองมีการจัดกลไก ผลกระทบในภาพรวมในเชิงมูลคาทางสังคม (Social Value) เพื่อสะทอนให
การทํางานของชุมชน เพื่อทําหนาที่ในการถายทอดความรู การฟนฟูทรัพยากร เห็นถึงความคุมคาในการดําเนินการวิจัยโดยใชแนวคิดในเรื่อง การวิเคราะห
ปาไม ดิน นํ้า และปา เพื่อเปนแหลงการศึกษาเรียนรูของชุมชน เครือขาย เด็ก ผลตอบแทนจากการลงทุนทางสังคม (Social Return on Investment: SROI)
เยาวชน และผูสนใจ โดยศึกษาพัฒนาทําศูนยการเรียนรูสมุนไพร พืชอาหาร หรือ มาประกอบการพิจารณา โดยผลที่ไดจากการศึกษาจะนําไปสูการกําหนดทิศทาง
ศูนยพฤกษศาสตรชุมชนพื้นบาน “Akha Community Botanical Center” ไว และกลยุทธในการพัฒนาทองถิ่นและจะชวยแกปญหาความเหลื่อมลํ้าในสังคม
เปนแหลงศึกษาผานรูปแบบการจัดการของชุมชน โดยปราชญผูรู อันเปนมรดก ซึ่งเปนตนเหตุที่สรางปญหาทางสังคมดานตาง ๆ ในลําดับตอไป
ทางสังคม เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว สรางหองเรียนพฤกษศาสตรปาไม ของชุมชน ดร.ดนุช ตันเทอดทิตย เลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง อว.
ชาติพันธุของจังหวัดเชียงราย นายสัมพันธ เย็นสําราญ ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวง อว. นําคณะผูบริหาร
โครงการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑสินคาชนเผาอาขา ผูทรงคุณวุฒิ วช. และสื่อมวลชน ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินงานโครงการ
สูการเสริมสรางเศรษฐกิจชุมชน” โดยมี นายอาพี สะโง เปนหัวหนาโครงการวิจัย วิจัยดังกลาว ณ อําเภอแมฟาหลวงและอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยมี
โดยงานวิจัยเปนหนึ่งกระบวนการที่คนในชุมชนไดมีโอกาสรวมคิด รวมทบทวน นางสาวสุภาพรรณ โทขัน ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก วช.
สถานการณ ตั้งคําถาม วางแผนหาขอมูล ทดลองทํา รวมไปถึงการวิเคราะห กลาวรายงานวัตถุประสงคของโครงการวิจัย โดย ดร.ดนุช ฯ ไดกลาวถึงนโยบาย
สรุปผลการทํางานและหาคําตอบเพื่อปรับปรุงงานตอไป โดยใช “คน” และ และยุทธศาสตรการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ที่สอดคลองกัน
ใชเครื่องมือการสรางผลิตภัณฑชุมชนเปนเครื่องมือ เขามารวมในกระบวนการ ตามเปาประสงคในการพัฒนาประเทศใน 4 ดาน ไดแก การพัฒนากําลังคน
วิจัย ตั้งแตการเริ่มคิด เริ่มทําอยางเปนรูปธรรม เรียนรูจากการปฏิบัติการจริง และสถาบันความรู การวิจัยและสรางนวัตกรรมเพื่อตอบโจทยทาทายของ
(Learning By Doing) อันทําใหชุมชนไดเรียนรู สรางผลงาน มีความเกงขึ้นใน สังคม การวิจัยและสรางนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน และ
การแกปญหาของตนเอง และสามารถใชกระบวนการนี้ในการแกไขปญหาอื่น ๆ การวิจัยและสรางนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมลํ้า ซึ่ง
ในทองถิ่นโดยมีกระบวนการศึกษาเรียนรูอยางมีเหตุผล ดังนั้น งานวิจัยจึง วช. ถือเปนหนวยงานสําคัญในการบริหารทุนวิจัย เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด
ตองเนน “กระบวนการ” เพื่อใหเกิด “ผลผลิต” และ “ผลลัพธ” ใหชาวบาน ตอประชาชนและประเทศชาติ การติดตามงานวิจัยเพื่อทองถิ่น (CBR) ดาน
ไดประโยชนจากงานวิจัยโดยตรง และเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีสวนชวยในการ ชนเผา จังหวัดเชียงราย ของศูนยประสานงานวิจัยเพื่อทองถิ่นชาติพันธุ - ชนเผา
จังหวัดเชียงราย ภายใตเครือขายวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย
ชนเผาอาขาในครั้งนี้ นับวาเปนสิ่งที่ดีอยางยิ่ง ซึ่งนอกจาก
คณะตรวจเยี่ยมจะไดเห็นภาพการดําเนินงานในพื้นที่จริงแลว
ยังจะไดรับทราบปญหาอุปสรรค และใหขอเสนอแนะที่จะสะทอน
ใหผูแทนในระดับกระทรวงไดรับทราบ และเปนประโยชนตอ
แนวทางในการกําหนดแผนงานในระดับกระทรวงตอไป
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
8 National Research Council of Thailand (NRCT)
���������� �� 155.indd 8 31/1/2567 14:42:42