Page 3 - จดหมายข่าว วช 155
P. 3

ปที่ 19 ฉบับที่ 155  ประจําเดือน กุมภาพันธ 2567















































                 วันที่ 2 กุมภาพันธ 2536 เปนวันที่ทูลเกลา ฯ ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ “เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวนํ้าหมุนชาแบบทุนลอย” หรือ
          “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” แดพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริยพระองคแรกของโลก
          ที่ไดรับสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ นับเปนสิ่งประดิษฐเครื่องกลเติมอากาศ เครื่องที่ 9 ของโลกที่ไดรับการจดสิทธิบัตร และเปนครั้งแรกที่ไดมีการจดทะเบียน
          ออกสิทธิบัตรใหแกพระราชวงศ
                 วันที่ 2 กรกฎาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลา
          โปรดกระหมอมใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยสมัยนั้น (นายอุทัย  พิมพใจชน) รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย (นายจุรินทร  ลักษณวิศิษฏ)
          และคณะ พรอมทั้งกรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา (นายสุเมธ  ตันติเวชกุล) เขาเฝา ฯ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตน
          ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี แทนพระองค เพื่อทูลเกลา ฯ ถวายสิทธิบัตร ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
                 วันที่ 14 กันยายน 2536 นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี และประธานสภาวิจัยแหงชาติ (สมัยนั้น) นําคณะกรรมการบริหารสภาวิจัย
          แหงชาติ เขาเฝาเพื่อทูลเกลาทูลกระหมอมถวายรางวัลผลงานคิดคนหรือสิ่งประดิษฐที่เปนประโยชนแกประเทศชาติ ประจําป 2536 รางวัลที่ 1 แด
          พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
                 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2537 ไดกําหนดใหวันที่ 2 กุมภาพันธ ของทุกป เปน “วันนักประดิษฐ” เพื่อเทิดพระเกียรติ
          พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการที่ไดทรงประดิษฐคิดคน “เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวนํ้า
          หมุนชาแบบทุนลอย” หรือ “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” และทรงไดรับการทูลเกลา ฯ ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2536 นอกจาก
          จะเปนการเทิดพระเกียรติแลว ยังเปนวันที่ระลึกถึงวันประวัติศาสตรของการจดทะเบียนและออกสิทธิบัตรใหแกพระมหากษัตริยพระองคแรกของโลก
          ที่ทรงคิดคนประดิษฐสิ่งที่เปนประโยชนตอประเทศชาติ และทรงไดรับสมัญญานาม “พระบิดาแหงการประดิษฐไทย”
                 ตอมาเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2544 สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีไดแจงวา นายกรัฐมนตรีไดมีบัญชามอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการ
          วิจัยแหงชาติ (สมัยนั้น) หรือ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) เปนหนวยงานกลางในการจัดงาน “วันนักประดิษฐ” ขึ้น เพื่อดําเนินการสงเสริม
          การคิดคนและประดิษฐสิ่งที่เปนประโยชนทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม อันนําไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง
          ของประเทศ โดยรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีความคิดสรางสรรค มีความรูความสามารถ และสนใจที่จะดัดแปลงหรือคิดคน
          ประดิษฐนวัตกรรมใหม ๆ ดวยการสงเสริมและสนับสนุนการประดิษฐคิดคนของนักประดิษฐในทุกระดับ อาทิ นักเรียน เยาวชน นิสิตนักศึกษา
          และประชาชนผูสนใจการประดิษฐคิดคน ใหสามารถพัฒนาสิ่งประดิษฐไปสูการนําไปใชประโยชนอยางแทจริง กอใหเกิดประโยชนตอสวนรวมและ
          ประเทศชาติ และเปนการสงเสริมการประดิษฐคิดคนของคนไทยใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก ใหมีความกาวหนา มั่นคงตอไป
          สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         3




     ���������� �� 155.indd   3                                                                               31/1/2567   14:41:37
   1   2   3   4   5   6   7   8