Page 12 - จดหมายข่าว วช 155
P. 12

กิจกรรม วช.

                                                    วช. รวมกับ มสธ. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

                                      “คลังจดหมายเหตุ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม”









                 สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย จดหมายเหตุดิจิทัล นอกจากนั้นไดมีการนําแนวคิดการวิเคราะหขอมูลของเอกสาร
          และนวัตกรรม ร‹วมกับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง  Digital Archives โดยใช Data analytics มีการแสดงผลการวิเคราะหขอมูลในรูปแบบ
          “คลังจดหมายเหตุ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2566  Text Visualization โดยมีจุดเริ่มตนจากการทําความเขาใจ Timeline การพัฒนา
          หŒองประชุมจอมพล  สฤษดิ์ ธนะรัชต ชั้น 2 อาคาร วช. 1 สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ  การอุดมศึกษาในประเทศไทย และทําการเชื่อมโยงขอมูล Omeka S มาสู Timeline
          โดย ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ กล‹าวเปดการประชุม ฯ  และผานกระบวนการใช Text Analysis หรือการวิเคราะหขอความ ซึ่งคือกระบวนการ
                 การประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ นี้ เปนสวนหนึ่งของการดําเนินงานโครงการ  ที่ใชในการประมวลผลขอมูลขอความเพื่อคนหารูปแบบความสัมพันธ และแนวโนมตาง ๆ
          จัดทําจดหมายเหตุการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ  ที่ซอนอยูภายในขอมูล การวิเคราะหขอความ สามารถนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ
          ซึ่ง วช. ไดมอบทุนอุดหนุนการทํากิจกรรม สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม เชน การคนหาขอมูลเชิงลึก การระบุตัวตน เปนตน มีการแสดงการใชโปรแกรม
          ใหแก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดยมี รองศาสตราจารย ดร.นํ้าทิพย วิภาวิน  Repository of Authentic Digital Objects (RODA) ซึ่งเปน Open source
          เปนหัวหนาโครงการ เพื่อจัดทําระบบจัดเก็บขอมูลสารสนเทศจดหมายเหตุการอุดมศึกษา  เพื่อใชในการสงวนรักษาสารสนเทศดิจิทัล ซึ่งจะเปนระบบแรกของไทยที่จะนํา
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งจะจัดเก็บรักษา และสงเสริมใหเกิดการใชประโยชน โปรแกรมนี้มาใช และมีการนําเสนอการออกแบบนิทรรศการเสมือน (Virtual
          ขอมูลเพื่อการศึกษา คนควาขอมูลวิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของการอุดมศึกษา  Exhibition) ที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลจากคลังจดหมายเหตุเปนการแสดงใหเห็นถึง
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ในแตละสมัย เปนแหลงจัดเก็บเอกสารชั้นตนที่มี การใชประโยชนจากเอกสารที่อยูในคลังจดหมายเหตุ ฯ สูสาธารณะไดอยางกวางขวาง
          คุณคาถาวร ที่สามารถใชเปนหลักฐานอางอิง รวมถึงการพัฒนางานจัดทําจดหมายเหตุ  นอกจากนี้ยังมีการประชุมออนไลนแลกเปลี่ยนแนวคิดกับนักวิชาการจาก
          ทุกกระบวนงานใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีระบบการบริหารเอกสารและจัดทํา  มหาวิทยาลัย Tampere ประเทศ Finland ในหัวขอ How Finnish Social Science
          ระบบบริหารเอกสารอิเล็กทรอนิกสตามมาตรฐานจดหมายเหตุสากล ใหบริการดวย  Data Archive (FSD) has used standards inimplement and improve
          เทคโนโลยีที่ทันสมัย บูรณาการรวมกับเครือขายเพื่อเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต  the archival of social science data ซึ่งสามารถนํามาปรับใชกับการทํางาน
                 วัตถุประสงคในการจัดงานในครั้งนี้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดทําคลัง  ดานจดหมายเหตุของไทยใหไดมาตรฐานสากลมากขึ้น
          จดหมายเหตุการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดยนักวิจัยไดมีการแสดง
          แนวคิดที่จะพัฒนาเปนตนแบบในการออกแบบเนื้อหาและการใชคลังจดหมายเหตุ
          การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม การจัดทําเมทาดาทา และลงรายการ
          ตามมาตรฐานดับลินคอรเมทาดาทา (Dublin Core Metadata) การใชโปรแกรม
          Omeka S สําหรับลงรายการขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการแสดงผลในคลัง


               วช. รวมกับ สอศ. พัฒนาบมเพาะสมรรถนะดานวิจัยและนวัตกรรม


           นักประดิษฐสายอาชีวศึกษา ภาคเหนือ ประจําป 2567 ณ จังหวัดเชียงใหม


                  สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ร‹วมกับ สํานักงาน
           คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จัดกิจกรรมบ‹มเพาะนักประดิษฐสายอาชีวศึกษา ประจําป‚ 2567 ภาคเหนือ ระหว‹าง
           วันที่ 8 – 10 มกราคม 2567 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม‹ โดยมี ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงาน
           การวิจัยแห‹งชาติ เปšนประธานในพิธีเปดกิจกรรม พรŒอมปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “พัฒนากําลังคนสู‹การขับเคลื่อนประเทศโดยใชŒ
           ฐานนวัตกรรม” และมี ดร.นิรุตต บุตรแสนลี ผูŒอํานวยการสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สอศ. ร‹วมบรรยายพิเศษ









                 การจัดกิจกรรมบมเพาะนักประดิษฐสายอาชีวศึกษาในครั้งนี้ เปนการ  1) ดานการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร 2) ดานสาธารณสุข สุขภาพ และ
          พัฒนาศักยภาพบุคลากรสายอาชีวศึกษาใหมีความรูเกี่ยวกับหลักการเขียนขอเสนอ  ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ 3) ดานการพัฒนาเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ อุปกรณอัจฉริยะ
          โครงการสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม การนําเสนอ การคิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐ   4) ดานพลังงาน สิ่งแวดลอม และ BCG Economy Model และ 5) ดานการพัฒนา
          และนวัตกรรม Upskill อาชีวศึกษา เพิ่มทักษะความเปนผูประกอบการ สรางความพรอม  คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจสรางสรรค โดยมีผูทรงคุณวุฒิที่มีความรอบรู ความ
          สูตลาดแรงงานฐานนวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู คนควาทดลอง & หาประสบการณ   เชี่ยวชาญ และประสบการณในการพัฒนาสมรรถนะและสงเสริมผลงานในเวทีระดับ
          โดยเนนนักศึกษาอาชีวศึกษาที่อยูในภาคเหนือเพื่อกระตุนและสรางแรงจูงใจใหเยาวชน  ชาติและระดับนานาชาติ มาใหความรู ความเขาใจ การสรางแรงบันดาลใจกับทีม
          ไดเขาใจและเห็นประโยชนของการวิจัยและพัฒนาตอยอด และสรางมูลคาสูการ  นักศึกษาสายอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม ที่จะเปน
          ใชประโยชนในเชิงพาณิชยและสังคม พรอมกันนี้ไดมีกิจกรรมแบงกลุมการฝก  กลไกหนึ่งในการพัฒนากําลังคนดวยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
          ปฏิบัติตามกลุมเรื่อง ซึ่งไดกําหนดกลุมเรื่องผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม ดังนี้   การขับเคลื่อน การพัฒนา และสรางนวัตกรรมในอนาคตตอไป
                                                                                        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
           12                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)




     ���������� �� 155.indd   12                                                                              31/1/2567   14:43:55
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16