Page 11 - จดหมายข่าว วช. ฉบับที่ 55
P. 11
ไปประกวดในงานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีอยู่ในครัวเรือนทั่วไปให้เป็นเครื่องมือแพทย์ได้อย่างมี
ได้รับรางวัลประเภทนวัตกรรมเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชน ประสิทธิภาพ โดยอุปกรณ์นี้มีความพิเศษแตกต่างจากอุปกรณ์
ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น DIY (Do-It-Yourself) spacer เพื่อให้ ช่วยพ่นยาโดยทั่วไป คือ มีการควบคุมทิศทางการไหลของการหายใจ
มีความทันสมัยมากขึ้น และน�าไปประกวดในงาน Seoul เพื่อสูดละอองยา ท�าให้การพ่นยามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
International Innovation Fair 2012 ที่ประเทศสาธารณรัฐ และมีคุณภาพไม่แตกต่างกับอุปกรณ์ช่วยพ่นยาที่น�าเข้าจาก
เกาหลี แต่ยังมีปัญหาเรื่องความคงทนของข้อต่อซึ่งใช้กาวร้อน ต่างประเทศ
เป็นส่วนประกอบ ท�าให้ต้องพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยมีผู้ร่วมทีม
อีกหนึ่งคนคือ คุณพัชรา บุญญอนุชิต พยาบาลผู้ดูแลผู้ปวย • วิธีการและกรรมวิธี
โรคหืด และได้พบวิธีผลิตที่คงทนขึ้นโดยใช้การหมุนเกลียว ส่วนประกอบหลัก คือ กระบอกกักเก็บยา ลิ้นควบคุม
ที่ผลิตจากไซฟอนปัมเป็นข้อต่อแทนใช้กาวร้อน และมีการท�า ทิศทางการหายใจ และส่วนหน้ากากซึ่งสามารถปรับให้ส่วนที่
Safety filter โดยเย็บจากด้ายเพื่อป้องกันการหลุดของลิ้นวาล์ว สัมผัสกับหน้าของผู้ปวยมีความอ่อนนุ่ม โดยใช้ท่อลมซิลิโคน
ปิดเปิด ซึ่งใช้เวลาพัฒนาถึง 4 ปี จนได้ชิ้นงานที่ใช้ในปัจจุบัน หรือสายยางหุ้มให้ผู้ปวยไม่รู้สึกระคายเคือง หรือบาดหน้าจาก
ขอบกรวยของอุปกรณ์ช่วยพ่นยา พร้อมทั้งสามารถปรับแต่ง
• ลักษณะเดน ขนาดของกรวยให้กระชับกับใบหน้าของผู้ปวยตามขนาดได้
อุปกรณ์ช่วยพ่นยาส�าหรับผู้ปวยโรคหืดนี้ ผู้ปวย ผู้ดูแล ตามความต้องการ โดยมีทิศทางการไหลของละอองยาขณะท�าการ
และคนทั่วไปสามารถประดิษฐ์ได้ด้วยตนเอง จากชิ้นส่วน หายใจเข้าออก ดังแสดงในรูปที่ 1. และรูปที่ 2.
รูปที่ 1. แสดงทิศทางการไหลของละอองยา
ขณะทําการหายใจเขา
รูปที่ 2. แสดงทิศทางการไหลของละอองยา
ขณะทําการหายใจออก โดย Siphon
Valve คือ ลิ้นควบคุมทิศทางการหายใจ
ที่ถูกเอามาจากที่สูบนํ้าดวยมือ
(อ่านต่อหน้า 12)
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT)
National Research Council of Thailand (NRCT) 11 11 11
National Research Council of Thailand (NRCT)