Page 14 - จดหมายข่าว วช. ฉบับที่ 55
P. 14

(ต่อจากหน้า 13)
               พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพและมาตรฐานใน
               ระดับสากล ส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ และเพื่อใช้
               งานวิจัยในการบริหารและขับเคลื่อนนโยบาย Medical Hub
               ที่ไม่เกิดผลกระทบด้านลบต่อระบบสุขภาพไทยต่อไป

                       จากที่กล่าวมาข้างต้น วช. จึงได้จัดท�ายุทธศาสตร์
               การวิจัยรายประเด็นด้านการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์
               (Medical Hub) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                       ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการเป็น
               ศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) มีวิสัยทัศน คือ
               “มุงเนนการพัฒนางานวิจัยเพื่อการเปนศูนยกลางทางการ
               แพทยที่มีคุณภาพ สามารถแขงขันไดอยางยั่งยืนในตลาด

               โลก โดยไมมีผลกระทบตอระบบสุขภาพไทย” โดยมีพันธกิจ
               การวิจัย คือ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัย  3) เพื่อศึกษาแนวทางบริหารและขับเคลื่อนนโยบายการ
               ดานศูนยกลางทางการแพทยของประเทศโดยประยุกตและ   เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ โดยไม่เกิดผลกระทบด้านลบ
               พัฒนาวิทยาการที่เกี่ยวของใหเหมาะสมแพรหลาย รวมทั้ง  ต่อระบบสุขภาพไทย ตลอดจนสนับสนุนแนวทางสร้างความ
               ใชทรัพยากรและเครือขายวิจัยอยางมีประสิทธิภาพ และการ  มั่นใจให้แก่ชาวต่างประเทศที่จะเข้ามาใช้บริการและท�า
               มีสวนรวมของทุกฝาย ยุทธศาสตร์การวิจัยฯ ประกอบด้วย   ประชาสัมพันธ์ธุรกิจบริการสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายหลัก
               4 ยุทธศาสตร์ย่อย ได้แก่                           การบริการของการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์สามารถ
                       1)  การวิจัยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการจัด  ครอบคลุมการเยียวยา (Treatment) การค้นหาผู้ปวยใน
               บริการสุขภาพที่มุ่งเน้นเพื่อการคัดกรองโรค และการรักษา  ระยะแรก (Early Detection) การบริการช่วยเหลือระยะ

               ป้องกันโรคตั้งแต่ระยะเริ่มต้น                     แรกเริ่ม (Early Intervention) การป้องกัน (Prevention)
                       2)  การวิจัยเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์  การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) การฟนฟู
               เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในทุกระดับ      (Rehabilitation) และการมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงสมบูรณ์
                       3)  การวิจัยเพื่อการส่งเสริมการตลาดและ
               ประชาสัมพันธ์                                     (Wellness)
                       4) การวิจัยเพื่อการบริหารและขับเคลื่อนนโยบาย     นอกจากนี้ ได้ก�าหนดผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด และ
               การเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ โดยไม่เกิดผลกระทบ     เป้าหมายไว้ดังนี้ คือ ผลผลิต ประกอบด้วย 1) เชิงปริมาณ คือ

               ด้านลบต่อระบบสุขภาพไทย                            ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพด้านการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์
                       ยุทธศาสตร์ได้ก�าหนดเปาประสงคไว้ 3 ประเด็น   2) เชิงคุณภาพ คือ องค์ความรู้ที่ชี้น�าให้ศูนย์กลางทางการ
               ประกอบด้วย 1) เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการส่งเสริมและ  แพทย์สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืนในตลาดโลก ส�าหรับ
               พัฒนาศักยภาพการจัดบริการสุขภาพของประเทศไทยให้มี   ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ผลผลิต คือ 1) จ�านวนผลงานวิจัยที่มี
               ขีดความสามารถในการก้าวเข้าสู่การแข่งขันกับนานาประเทศ  คุณภาพด้านการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ 2) จ�านวนองค์
               ตามกลไกของการค้าเสรีจนสามารถสร้างรายได้ให้แก่     ความรู้ที่ชี้น�าให้ศูนย์กลางทางการแพทย์ สามารถแข่งขันได้
               ประเทศไทยได้และพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์เพื่อมุ่งสู่  อย่างยั่งยืนในตลาดโลก และผลลัพธ คือ 1) จ�านวนผลการ
               ความเป็นเลิศทางวิชาการ 2) เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการ  ศึกษาวิจัยด้านการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ที่ภาครัฐ
               ส่งเสริมและสนับสนุนธุรกิจสุขภาพให้มีความพร้อมในการ  ภาคเอกชน และภาคประชาชน น�าไปใช้ด�าเนินการ 2) มีนโยบาย

               ก้าวเข้าสู่การรับรองคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล   และแผนแม่บทที่ชัดเจนด้านการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์
               ตลอดจนการได้รับรางวัลเกียรติยศจากนานาชาติ และ     ของประเทศ




         14 14  สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
              สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
              National Research Council of Thailand (NRCT)
              National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16