Page 15 - จดหมายข่าว วช. ฉบับที่ 55
P. 15

ความร่วมมือกับต่างประเทศ






                                   การเพิ่มมูลค่าผลิตผลพืชผักและผลไม้เศรษฐกิจ


                                   เพ� อการพัฒนาการเกษตรบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน


                                                                               ผู้ช่วยศาสตราจารย ดร.พิชญา บุญประสม พูลลาภ*


               โครงการการเพิ่มมูลค่าผลิตผลพืชผัก  หลากหลายของผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดให้
          และผลไม้เศรษฐกิจฯ ระยะที่ 4 ได้มุ่งเน้นการ  มากขึ้น ดังนี้ (1) กระบวนการผลิตผงมะนาว
          แปรรูปผลิตผลเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม  พร้อมดื่มส�าเร็จรูปด้วยวิธีการท�าแห้ง
          มูลค่าให้แก่ผักและผลไม้บนพื้นที่สูง ได้แก่   แบบโฟม - แมท เป็นการวิจัยที่สามารถเพิ่ม
          มะนาว มะม่วงสายพันธุ์นวลค�า มะม่วงลูกเล็ก  มูลค่าและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
          ข้าวโพด และถั่วแปยี ส�าหรับถั่วแปยีเป็นพืช  จากมะนาว มีกระบวนการที่ง่าย ไม่ซับซ้อน
          ที่ช่วยอนุรักษ์ดินยังไม่สามารถน�าไปใช้  ต้นทุนต�่าและสามารถผลิตได้ในครัวเรือน
          ประโยชน์ได้เต็มประสิทธิภาพ         (2) การผลิตมะม่วงชิ้นกึ่งแห้งด้วยเทคนิค
               โครงการวิจัยนี้ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์  ไมโครเวฟ และการผลิตเส้นใยอาหารผง

          จากพืชผักและผลไม้บนพื้นที่สูงทั้งหมด  จากเปลือกมะม่วงที่เป็นผลพลอยได้จาก
          จ�านวน 10  ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผงมะนาว  กระบวนการแปรรูปมะม่วง มีจุดประสงค์
          พร้อมดื่มส�าเร็จรูป มะม่วงสายพันธุ์นวลค�า  เพื่อการเพิ่มมูลค่าแก่มะม่วงและลดปัญหา
          แผ่นอบแห้ง มะม่วงชิ้นอบแห้งด้วยเทคนิค  ด้านสิ่งแวดล้อมที่มาจากผลพลอยได้จากการ  เปลี่ยนข้าวโพดหวานให้เป็นน�้าเชื่อมกลูโคส/
          ไมโครเวฟ  เส้นใยอาหารผงจากเปลือก   แปรรูปมะม่วง (3) การพัฒนากระบวนการ  ฟรุกโตส  และกระบวนการท�าบริสุทธิ์
          มะม่วง นมข้นจากข้าวโพดหวาน ข้าวเกรียบ  ผลิตมะม่วงสายพันธุ์นวลค�าแผ่นอบแห้ง  เบื้องต้น (6) ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจาก
          จากข้าวโพดหวาน กระบวนการผลิตน�้าเชื่อม  ด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบ  ถั่วแปยีเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ถั่วแปยี
          กลูโคส/ฟรุกโตสจากข้าวโพดหวาน สูตร  พาความร้อนเข้าสู่ห้องอบและเครื่องอบแห้ง  ซึ่งเป็นผลิตผลที่มีปริมาณโปรตีนและ
          ผลิตถั่วแปยีคั่วสมุนไพร คุกกี้จากผงแป้ง  แบบลมร้อนแบบถาดเป็นการหาอัตรา  คาร์โบไฮเดรตสูง แต่มีไขมันต�่า อีกทั้งยังมี
          ถั่วแปยี  ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้ล้วนเป็น  และเวลาการท�าแห้งเพื่อให้ได้ความชื้นที่  สารไฟโตฮีแมคกลูตินินที่ช่วยในการเร่งการ
          ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตผลเกษตร   เหมาะสมต่อเนื้อสัมผัสและอายุการเก็บ  ผลิตเม็ดเลือดขาวของร่างกาย (7) การศึกษา
          ที่ได้ผ่านการศึกษาต้นทุน การยอมรับของ  รักษาของมะม่วงแผ่นอบแห้ง (4) ผลิตภัณฑ์  การยอมรับของผู้บริโภคเชิงพาณิชย์ในด้าน
          ผู้บริโภค และราคาที่ผู้บริโภคยอมรับในเชิง  นมข้าวโพดข้นหวาน และข้าวเกรียบข้าวโพด  ต้นทุน ราคา และประสาทสัมผัส ท�าให้ทราบ
          พาณิชย์ นอกจากนี้ ยังได้ถ่ายทอดเทคโนโลยี  เป็นการช่วยเพิ่มมูลค่าและเพิ่มความ  พฤติกรรม และการยอมรับของผู้บริโภคที่มี
          ด้านกรรมวิธี กระบวนการ และองค์ความรู้  หลากหลายให้แก่ข้าวโพดหวาน นอกเหนือ  ต่อผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้น ส่งผลให้สามารถ
          ที่ส�าคัญให้แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกร  จากการแปรรูปข้าวโพดเป็นข้าวโพดหวาน  เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค และสามารถ
          กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และ  บรรจุกระปอง แช่แข็ง และน�้านมข้าวโพด  ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคได้ ซึ่งเป็น
          ประชาชนผู้สนใจแล้ว                 พร้อมดื่ม (5) การศึกษาเบื้องต้นในการผลิต  การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และ

               ประโยชน์ของการพัฒนากรรมวิธี   น�้าเชื่อมข้าวโพดเป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์  ส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ต้องการน�า
          และกระบวนการผลิตของการแปรรูป       ข้าวโพดหวานอีกทางหนึ่งที่สามารถเพิ่ม  เทคโนโลยีจากงานวิจัยนี้ไปผลิตในเชิง
          ผลิตผลเกษตรบนพื้นที่สูงเป็นการสร้าง  มูลค่าให้แก่ข้าวโพดหวาน  โดยพัฒนา  พาณิชย์
          ผลิตภัณฑ์ที่สามารถเพิ่มมูลค่า และความ  สภาวะและชนิดตัวเร่งปฏิกิริยาในการ


          ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากโครงการความร่วมมือไทย – เยอรมัน ในชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การใช้ที่ดินและการพัฒนาชนบทอย่างยั่งยืนบนพื้นที่สูงของภูมิภาค
          เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Uplands Program) ระยะที่ 4
          *  คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต�าบลแม่เหียะ อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100
            โทรศัพท์: 053 948237 หรือ 081 5450808 โทรสาร: 053 9488238 E-mail: pichaya.aey@hotmail.com

                                                                                     สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
                                                                                     สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
                                                                                     National Research Council of Thailand (NRCT)
                                                                                     National Research Council of Thailand (NRCT)  15 15
   10   11   12   13   14   15   16