Page 12 - NRCT Newsletter Vol 57
P. 12
(ต่อจากหน้า 11)
ศึกษาวรรณกรรม ออกแบบและเขยี นแบบ
จดั หาวัตถุดบิ และอุปกรณ์
สรา้ งชน้ิ ส่วนและประกอบ
ทดลองระบบสุญญากาศ ปรบั ปรงุ แก้ไข
หาพารามิเตอร์ท่ีเหมาะสมในการใชง้ าน รูปท่ี 3. ขณะหลอมดว้ ยเปลวพลำสมำ
รปู ท่ี 1. กำรไหลของงำน วธิ ีการและกรรมวธิ ี
รปู ท่ี 2. ผลงำนประดิษฐค ิดคน้ วิธีการอาร์คด้วยพลาสมาเป็นวิธีการที่ให้ความร้อนสูง
ขน้ึ กบั ชนดิ ของกา ซตวั กลางและอเิ ลกโตรด ใหอ้ ณุ หภมู สิ งู ประมาณ
12 ส�ำ นกั ง�นคณะกรรมก�รวจิ ัยแหง่ ช�ติ (วช.) 3,000 – 7,000 ซ� . การอาร์คเป็นการท�าใหเ้ กิดพลาสมา (พลาสมา
National Research Council of Thailand (NRCT) เป็นอีกสถานะหนึ่งของแกส กล่าวคือ แกสที่มีสภาพเป็นไอออน
หมายความวา่ จะมอี เิ ลก็ ตรอนอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั ถกู ดงึ ออกจากโมเลกลุ
แล้วประจุไฟฟ้าอิสระท�าให้พลาสมามีสภาพการน�าไฟฟ้าเกิดข้ึน)
พลาสมาสามารถเกิดไดโ้ ดยการใหส้ นามไฟฟ้าปริมาณมากแกแ่ กส
ที่เป็นกลาง เม่ือพลังงานส่งผ่านไปยังอิเล็กตรอนอิสระมากพอ
จะท�าให้อิเล็กตรอนอิสระชนกับอะตอม และท�าให้อิเล็กตรอน
หลุดออกจากอะตอม กระบวนการน้ีเรียกว่ากระบวนการแตกตัว
เปน็ ไอออน (Ionization) ซึง่ จะเกดิ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็ ทา� ให้จา� นวน
อเิ ลก็ ตรอนทห่ี ลดุ ออกมานเ้ี พม่ิ จา� นวนขน้ึ อยา่ งมากซงึ่ จะทา� ใหแ้ กส
แตกตัวและกลายเป็นพลาสมา นอกจากนัน้ การหลอมโลหะทีท่ �า
ปฏิกิริยาออกซิเดช่ันได้ง่าย ไม่สามารถหลอมในบรรยากาศปกติ
ได้ จึงต้องใช้ระบบสญุ ญากาศมาช่วย ท�าความสะอาดบรรยากาศ
ในเตาหลอม ให้เหลือกาซอื่นให้น้อยท่ีสุดเท่าที่จะท�าได้ สุดท้าย
ใสแ่ กส อาร์กอนปกคลุมบรรยากาศก่อนการหลอมโดยการอารค์
เบ้า เป็นอุปกรณ์ท่ีส�าคัญในการหลอม ต้องทนอุณหภูมิ
ไดส้ งู กวา่ โลหะทตี่ อ้ งการหลอม ในทนี่ เี้ ลอื กใชเ้ บา้ ทท่ี า� จากทองแดง
เนอ่ื งจากไมเ่ กดิ Interactive และยงั นา� ความรอ้ นไดด้ ี ถา่ ยเทความ
ร้อนได้ดี แต่ทองแดงมีจุดหลอมเหลวต�่ากว่าไทเทเนียม จึงต้องมี
การออกแบบระบบระบายความร้อนที่ดี เพื่อป้องกันเบ้าทองแดง
เสยี หาย