Page 14 - NRCT Newsletter Vol 57
P. 14

ผลงานวิจยั สกู่ ารใชป ระโยชน

     ทศิ ทางของนโยบายและแผนหลกั
     การบรหิ ารจัดการน�า้ ระดับประเทศ
  และการวจิ ยั เพ่อื ลดผลกระทบจากภยั พิบัติ

       ส�านักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ไดส้ นบั สนนุ               ด้านภูมิสังคมเศรษฐกิจ และโครงสร้างพ้ืนฐานของชุมชนที่ได้รับ
งบประมาณ ประจา� ปี 2555 แก่แผนงานวิจัย เรอ่ื ง การกา� หนด                   ผลกระทบจากภัยพบิ ัตดิ า้ นน�า้ สภาพการเกิดภยั พิบัติ ครอบคลุม
ทิศทางของนโยบายและแผนหลักการบริหารจัดการน�้าระดับ                           ถึงกรณีน�้าท่วม ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม และน้�าเน่าเสีย และเสนอ
ประเทศและการวิจัยเพ่ือลดผลกระทบจากภัยพิบัติ โดยมี                           แนะดชั นภี ยั แลง้ รวมทเี่ หมาะสมกบั ประเทศไทย ผลการศกึ ษาจาก
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศรี และคณะ จากศูนย์วิจัย                      โครงการวิจัยย่อยได้ถูกวิพากษ์โดยผู้บริหารระดับสูง นักวิชาการ
วิศวกรรมและการจัดการน�้า (วารี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี                        และผู้ทรงคุณวุฒิ จากภาคสว่ นต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ทา� ใหไ้ ด้ทราบ
พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ดา� เนนิ การ ปจั จบุ นั โครงการดงั กลา่ วดา� เนนิ การ   แนวนโยบายและแผนหลกั ท่เี หมาะสม โดยใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อดี
ส�าเร็จลุล่วงแล้ว ซ่ึงมาตรการเชิงกลยุทธ์ที่เสนอนั้นสามารถใช้                ข้อเสีย โอกาสและอุปสรรค ในการพัฒนาต่อยอด และปรับปรุง
เป็นแนวทางในการจัดท�าแผนแม่บทการบริหารจัดการน�้าของ                         แกไ้ ขผลการวิจัย
ประเทศไทยได้ แผนงานวิจัยนี้เป็นโครงการวิจัยเชิงนโยบาย
ที่อาศัยนักวิจัยและท่ีปรึกษาจากมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน                              ข้อเสนอแผนแม่บทการบริหารจัดการน�้า ท่ีได้จากการ
ตา่ ง ๆ ท่ีมาจากหนว่ ยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถงึ มูลนิธิ              ศกึ ษาวจิ ยั ประกอบดว้ ย 4 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ บรู ณาการการบรหิ าร
ทไ่ี ม่แสวงหากา� ไร                                                         จัดการทรัพยากรน้�าจากทุกภาคส่วน พัฒนาและปรับปรุงองค์กร
                                                                            หลักด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
       ในการศกึ ษาทศิ ทางของนโยบายและแผนหลกั การบรหิ าร                     ของภาคประชาชนในการจัดการทรัพยากรน้�าและภัยพิบัติ และ
จัดการน้�าเพื่อลดผลกระทบจากภัยพิบัติ ต้องอาศัยกระบวนการ                     ชว่ ยเหลอื ชดเชยและประกันภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ซึง่ ครอบคลุม
ส�ารวจ ทบทวนเอกสาร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลความ                        แนวทางบรรเทาปัญหาน�้าท่วม น้�าแล้ง น�้าเน่าเสีย การชดเชย
ตอ้ งการนา้� ปญั หานา�้ ทงั้ ประเทศ รปู แบบวธิ กี ารบรหิ ารจดั การของ       เยยี วยา ทง้ั ในเชงิ วศิ วกรรม และไมใ่ ชว่ ธิ กี ารทางวศิ วกรรม สรปุ เปน็
ภาครฐั และรปู แบบของขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วกบั ทรพั ยากรนา�้ ทมี่ อี ยู่ โดยหา  แผนภาพหลกั (รปู ท่ี 1.) ซงึ่ ผลที่ไดจ้ ากการวิจยั ทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อ
แนวทางการพัฒนาโครงสร้างขององค์กรหลัก องค์กรเครือข่าย                        สาธารณะสามารถน�าไปใช้ในการก�าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์
และกฎหมายท่ีใช้ในการสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า                     เพ่อื แก้ปญั หาในระดบั ชุมชนและระดบั ชาติได้ ซง่ึ มีความเชือ่ มโยง
ทง้ั ในสภาวะปกตแิ ละสภาวะฉกุ เฉนิ พฒั นาตน้ แบบทางคณติ ศาสตร์               ของหลักคดิ (รูปท่ี 2.)
เพ่ือใช้ประเมินความเสียหายและเบ้ียประกันที่เป็นธรรม ศึกษา

14 สำ�นกั ง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
       National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16