Page 12 - NRCT Newsletter Vol. 60
P. 12

บรรจภุ ัณฑอ์ าหารจากพอลิแลคตกิ แอสิด
  ที่ผา่ นการดดั แปรดว้ ยอนุภาคยาง

                                                                                               นายนวดล เพ็ชรวฒั นา*

เม็ดคอมพาวด์ PLA/อนุภาคยาง                           	 ปจั จบุ นั ประเทศไทยประสบปญั หากบั ปรมิ าณขยะทเี่ พมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในปี
  แผน่ ชที PLA/อนุภาคยาง                             2547 มปี รมิ าณขยะทวั่ ประเทศ 14.58 ลา้ นตนั โดยมปี รมิ าณขยะจากพลาสตกิ คดิ เปน็
                                                     รอ้ ยละ 16.83 ซึง่ มากกว่ารอ้ ยละ 80 เป็นขยะจากบรรจภุ ัณฑท์ ไี่ ม่สามารถย่อยสลาย
                                                     ได้ทางชีวภาพ กระบวนการหลักในการกำ� จดั ขยะเหลา่ นี้ คือ การนำ� ไปเผาหรือฝงั กลบ
                                                     โดยมีเพยี งรอ้ ยละ 11 ทีน่ ำ� กลบั มาใชใ้ หม่ ปญั หาทีเ่ กิดข้นึ ดงั กล่าวเปน็ ตัวกระตนุ้ ใหเ้ กิด
                                                     การศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ พฒั นาบรรจภุ ณั ฑช์ นดิ ใหมท่ ไ่ี มท่ ำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ ม พลาสตกิ ยอ่ ยสลาย
                                                     ไดท้ างชวี ภาพเป็นทางเลอื กหนึ่งของการแก้ปญั หาดังกล่าว
                                                     	 พลาสตกิ ย่อยสลายไดท้ างชีวภาพ ซ่ึงเป็นทีร่ ้จู กั และมขี ายในเชงิ พาณชิ ย์ เช่น
                                                     พอลแิ ลคตกิ แอสดิ (polylactic acid, PLA) พอลคิ ารโ์ ปแลคโตน (polycarpolactone,
                                                     PCL) และพอลบิ ิวทิลีนซัคซเิ นต (polybutylene succinate, PBS) เป็นต้น อย่างไร
                                                     กต็ าม พลาสติกชวี ภาพเหลา่ นี้ยงั มีข้อจำ� กดั ในการใช้งาน อาทิ PLA เป็นพลาสติกชีวภาพ
                                                     ทม่ี คี วามแขง็ แรงสงู แตม่ คี วามเปราะ และมคี า่ การทนแรงกระแทกตำ�่ มาก สมบตั เิ ชงิ กล
                                                     เป็นสมบัติที่ส�ำคัญที่ใช้ในการพิจารณาพลาสติกไปประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถ
                                                     ยืนยันได้ว่าผลิตภัณฑ์ท่ีขึ้นรูปด้วยพลาสติกนั้น ๆ จะไม่เสียรูปหรือแตกหักระหว่าง
                                                     การใช้งาน
                                                     	 ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ให้การสนับสนุนทุนวิจัยท่ีจะ
                                                     เพ่ิมความเหนียวให้แก่พลาสติกชีวภาพชนิด PLA ด้วยการผสมอนุภาคยางคอร์เชลล์
                                                     และข้ึนรูปเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร โดยศึกษาอิทธิพลของปริมาณขนาดอนุภาคยาง
                                                     ตอ่ สมบตั เิ ชงิ กล เชงิ กายภาพ เชงิ ความรอ้ นและโครงสรา้ งในระดบั จลุ ภาคของวสั ดผุ สม
                                                     ระหว่าง PLA กบั อนุภาคยาง เพ่ือผลติ เป็นบรรจุภณั ฑอ์ าหาร โดยผลทไ่ี ด้จากงานวจิ ัย
                                                     ดังกล่าวท�ำให้ได้บรรจุภัณฑ์อาหารจากพอลิแลคติกแอสิดทนแรงกระแทกสูง
                                                     และมีความปลอดภัยส�ำหรับใช้บรรจุอาหารแช่แข็ง ผลงานดังกล่าวพร้อมน�ำไปใช้
                                                     ในเชงิ พาณชิ ย์ไดท้ ันทเี น่ืองจากงานวจิ ยั มกี ารขนึ้ รปู ในระดับอุตสาหกรรมแลว้

แผ่นชที PLA/อนภุ าคยางชิน้ งานบรรจุภณั ฑ์            บรรจุภัณฑท์ ีผ่ ่านการเทอร์โมฟอร์ม
       ทผ่ี า่ นการเทอร์โมฟอร์ม

*	 คณะเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมผลติ ภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ เลขท่ี 114 สขุ มุ วทิ 23 แขวงคลองเตยเหนอื เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10110
	 โทรศัพท:์ 02 649 5000 ตอ่ 15812 โทรสาร: 02 260 2144

12 สำ�นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.)
       National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16