Page 14 -
P. 14

ยุทธศาสตรการวิจัยรายประเด็นดาน Future Earth
















                   ศาสตราจารย
             นายแพทยสิริฤกษ  ทรงศิวิไล

          เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
           เปนประธานกลาวเปดการประชุม

                 ประเด็นของ Future Earth เปนโครงการความ ทํายุทธศาสตรการวิจัยรายประเด็นดาน Future Earth เพื่อ
          รวมมือระหวางชาติที่สําคัญ โดยมีเปาหมายในการพัฒนา มุงเนนการแกปญหาอยางยั่งยืน เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลง
          องคความรู แสวงหาโอกาส สามารถรับมือกับความเสี่ยงและ ดานสิ่งแวดลอมและความทาทายดานการพัฒนา สามารถ
          การเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จาก ตอบสนองความตองการของมนุษยในดานตาง ๆ เพื่อใหการ
          ปญหาดังกลาวไดเกี่ยวเนื่องมาที่แนวคิดของการแกปญหา จัดทํายุทธศาสตรการวิจัยฯ ดังกลาว เปนแนวทางในการกําหนด
          เศรษฐกิจสีเขียวในบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืน เพราะปญหา ทิศทางการวิจัยเพื่อการแกไขปญหาไดอยางเปนรูปธรรม วช. จึง

          สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ทั้งในเรื่องของการขาดแคลน ไดจัด “การประชุมวิพากษ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยรายประเด็น
          นํ้าและการเกิดภัยพิบัติตาง ๆ ทั่วโลก อาจทําใหเกิดการชะลอ ดาน  Future Earth” ขึ้น เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรม
          ตัวในการพัฒนาอยางยั่งยืนได                        รามาการเดนส กรุงเทพมหานคร โดยมีรองศาสตราจารย ดร.พีรเดช
                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ใน ทองอําไพ ผูอํานวยการสถาบันคลังสมองของชาติ และ ประธาน
          ฐานะหนวยงานกลางในการกําหนดทิศทางและขับเคลื่อน คณะทํางานจัดทํายุทธศาสตรการวิจัยรายประเด็นดาน Future
          การพัฒนาประเทศดวยการวิจัย และเปนหนวยงานหลักใน Earth เปนผูนําเสนอ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยฯ
          การจัดทํานโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ จึงไดให      ผลที่ไดจากการวิพากษในครั้งนี้จะไดนําไปสูความมี

          ความสําคัญที่จะแกไขปญหาดังกลาวในเชิงวิชาการ และไดจัด สวนรวมและตระหนักถึงปญหาของผูที่มีสวนเกี่ยวของและ
                                                              หาแนวทางการแกไขปญหาดาน Future Earth ที่สําคัญตอ
                                                              ประเทศ และทราบปญหาและอุปสรรคที่เปนประโยชนในการ
                                                              จัดทํายุทธศาสตรการวิจัยฯ ไดอยางแทจริง รวมทั้งบูรณาการ
                                                              การทํางานวิจัยระหวางหนวยงานภาครัฐ และหนวยงานที่
                                                              เกี่ยวของ ทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาคใหสอดคลองกับ
                                                              ความตองการของประเทศ และใชเปนแนวทางในการกําหนด
                                                              กรอบการวิจัยและการจัดสรรทุนการวิจัยใหสภานโยบายวิจัย
                                                              และนวัตกรรมของประเทศสามารถใชตอบโจทยปญหาวิจัยได

                                                              อยางถูกตองตอไป

















                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16