Page 9 -
P. 9

เทคนิคการแปลเอกสารวิชาการ





                 การแปล  หมายถึง “การถายความหมายจากภาษาหนึ่งมาเปนอีกภาษาหนึ่ง หรือ การทําใหเขาใจความหมาย” เนื่องจาก
                        *
          การแปลเปนทั้งศาสตรและศิลป ดังนั้นในการถายทอดความหมาย ผูแปลจะตองรอบรูเชี่ยวชาญในภาษาที่แปลทั้งภาษาใน
          ตนฉบับ และภาษาในตนฉบับแปล ในเรื่องโครงสรางของภาษา บริบท และวัฒนธรรมของเจาของภาษานั้น รวมทั้งตองมีความ
          รอบรูในสาขาวิชาการอื่น ๆ ดวย ซึ่งจะชวยใหผูแปลสามารถถายทอดความหมายไดอยางถูกตอง ชัดเจน เขาใจงาย ไมกํากวม
                 อนึ่ง ในการแปลเอกสาร ผูแปลควรทราบขั้นตอนและเทคนิคในการแปลที่ถูกตองเพื่อใหงานแปลออกมามีคุณภาพ ซึ่ง
                    **
          มี 3 ขั้นตอน  ดังนี้
                                       1. การอ‹านทําความเขŒาใจตŒนฉบับ
                                              1.1 ผูแปลตองอานทําความเขาใจเรื่องทั้งหมดที่จะแปลทั้งนัยทางดานวัฒนธรรม

                                       หรือนัยแฝงอื่น ๆ
                                              1.2 ทําความเขาใจภาษา เชน โครงสราง คํา ความหมายของคํา หากผูแปลอาน
                                       แลวยังไมเขาใจ ตองหาความรูเพิ่มเติม เชน คนควาจากตําราหรือไตถามผูรู









                  2. การผละออกจากตŒนฉบับ ผูแปลตองลืมโครงสรางทางไวยากรณของภาษา
           ตนฉบับ การผูกประโยค การเลือกใชคําและวิธีเขียน ผูแปลตองไมหลงเอาโครงสรางของ

            ภาษาตนฉบับมาใชในภาษาตนฉบับแปล รวมทั้งตองเลือกใชคําในภาษาตนฉบับแปลให
                 ตรงหรือใกลเคียงกับคําในภาษาตนฉบับ






                                              3. การถ‹ายทอดความหมายไปอีกภาษาหนึ่ง ผูแปลตองตระหนักวา การแปล คือ
                                       การนําเอาความคิดของผูอื่นในภาษาหนึ่งมาถายทอดในอีกภาษาหนึ่ง เปนการเขียนดวย
                                       ภาษาใหมที่สื่อสารความหมายไดชัดเจน ปญหาที่ผูแปลมักประสบ คือ ปญหาดานไวยากรณ
                                       และโครงสรางของภาษาตนฉบับ อาทิ ประโยคที่มีกริยาเปนกรรมวาจก (Passive Voice)
                                       กาล (Tense) คําเชื่อมโยง (Connectives) สรรพนามที่ไมชี้เฉพาะเจาะจง (Indefinite
                                       Pronoun) ณ ที่นี้ขอยกตัวอยางประโยคประเภท Passive Voice
                                              He was invited to give a speech at the opening ceremony.
                                              ไมควรแปลวา “เขาถูกเชิญใหไปพูดในพิธีเปด” เนื่องจากในภาษาไทยเมื่อใช
                                       คําวา “ถูก” นําหนากริยา ความหมายจะสอไปในทางไมดี
                                              ผูแปลควรแปลวา “เขาไดรับเชิญใหไปพูดในพิธีเปด”



                       หากสนใจเกี่ยวกับการจัดแปลหนังสือวิชาการของ วช. ติดตอไดที่ : ฝายวิเทศสัมพันธการวิจัย
           กองการตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) 196 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
            โทร. 02 561 2445 ตอ 205 โทรสาร 02 561 3049  เว็บไซต www.nrct.go.th อีเมล irr.contact@gmail.com



          * ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
          ** อัจฉรา ไลศัตรูไกล. จุดมุงหมาย หลักการและวิธีแปล.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแ หง. 2557


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14