Page 7 -
P. 7

การสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 6



          “หนึ่งแถบ หนึ่งเสนทาง” และ “ประเทศไทย 4.0” สูความมั่นคง มั่งคั่งรวม



                 ประเทศไทยและจีนไดพัฒนาความสัมพันธไปสูระดับ       ในป 2560 นี้ ทางฝายจีนเปนเจาภาพหลักในการ
          ของการเปนหุนสวนทางยุทธศาสตร โดยมีความรวมมือกันในมิติ จัดการสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 6 ภายใตหัวขอ
          ดานเศรษฐกิจ ดานความมั่นคง และดานสังคมวัฒนธรรม ฯลฯ  “หนึ่งแถบ หนึ่งเสนทาง” และ “ประเทศไทย 4.0”: สูความ
          กาวไปสูการเปนมิตรประเทศที่ใกลชิดและเกื้อกูลซึ่งกันและ มั่นคง มั่งคั่งรวม ระหวางวันที่ 7 - 11 พฤศจิกายน 2560 ณ

          กัน และที่สําคัญความรวมมือระหวางไทยและจีนยังไดนําไป เมืองเซี่ยเหมิน มณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมี
          สูการทําคุณประโยชนตอภูมิภาครวมกันอีกดวย โดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และมหาวิทยาลัย
          นโยบาย “หนึ่งแถบ หนึ่งเสนทาง” (One Belt One Road  หัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมกับ สมาคมวัฒนธรรม
          Policy หรือ The Belt and Road Initiative) ซึ่งประธานาธิบดี และเศรษฐกิจไทย - จีน และ China Society for Southeast
          สี จิ้นผิง ใหความสําคัญนั้น สอดคลองกับนโยบายและ Asian Studies (CSSAS) เปนเจาภาพรวม
          ยุทธศาสตรของไทยในดานการเชื่อมโยงภูมิภาค (Connectivity)   การสัมมนาฯ ในครั้งนี้ พลอากาศเอก ประจิน  จั่นตอง
          ซึ่งประเทศไทยมีความสําคัญในเชิงภูมิรัฐศาสตร และเปน รองนายกรัฐมนตรี เปนหัวหนาคณะฝายไทยนํานักวิจัยและ

          ศูนยกลางที่สําคัญสําหรับการพัฒนาภูมิภาค            นักวิชาการเดินทางไปเขารวมการสัมมนาฯ และทางสาธารณรัฐ
                 นับตั้งแตป 2555 ไดมีการจัดงาน “สัมมนาวิจัย ประชาชนจีนมีนายสวี่ โยวเซิง (Xu Yousheng) รัฐมนตรีชวย
          ยุทธศาสตรไทย - จีน” ขึ้นเปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงค ทบวงกิจการชาวจีนโพนทะเล ใหการตอนรับและรวมเปน
          เปนเวทีใหกับนักวิชาการไทยและจีนไดมีโอกาสมาพบปะและ ประธานในพิธีเปดการสัมมนาฯ โดยมีบุคลากรจากภาครัฐ
          แลกเปลี่ยนผลงานวิชาการระหวางกัน เพื่อนําผลการศึกษาวิจัย ผูเชี่ยวชาญและนักวิชาการจากหลายหนวยงานทั้งฝายจีน
          และนําเสนอบทความเกี่ยวกับไทย - จีน รวมทั้งประเด็นขอคิดเห็น และฝายไทยเขารวมการสัมมนาฯ โดยไดมีการนําเสนอผลงาน
          ที่ไดจากการสัมมนาฯ เพื่อนํามาจัดทําเปนขอเสนอเชิงยุทธศาสตร วิจัยทั้งของนักวิจัยไทยและนักวิจัยชาวจีนในประเด็นหัวขอ
          ไทย - จีน โดย วช. ไดมีบันทึกความรวมมือกับมหาวิทยาลัย ยอยตาง ๆ ไดแก ความรวมมือทางการทูต ความมั่นคงและการ
          หัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน (Huaqiao University,  ปองกัน การลงทุน การคา การเงินและพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

          HQU) สลับกันเปนเจาภาพในการจัดงาน โดยฝายไทยมีสมาคม การทองเที่ยว วัฒนธรรมและการศึกษา การคมนาคม พลังงาน
          วัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย - จีนใหการสนับสนุนและเปน เกษตรกรรมและความรวมมือทางเทคโนโลยี สถานการณ
          เจาภาพรวมในการจัดสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย – จีน ในแตละป เศรษฐกิจ อุตสาหกรรมหลัก และความสัมพันธจีน – ไทย
          ไดมีการกําหนดหัวขอหลัก และรูปแบบการจัดสัมมนา เนนการ     นอกจากนี้ พลอากาศเอก ประจิน  จั่นตอง และ
          นําเสนอบทความทางวิชาการจากนักวิจัยทั้งฝายไทยและจีน  ผูบริหารจากหลายหนวยงานของไทย ไดเดินทางไปเยี่ยมชม
          โดยมุงเนนพัฒนาสงเสริมสนับสนุนการวิจัยในประเด็นที่สําคัญ ๆ  เพื่อศึกษาดูงานและหารือกับผูบริหารฝายจีนที่เกี่ยวของกับ
          หรือประเด็นการคาดการณในอนาคต และเพื่อประกอบการ ดาน IT และ Smart City ณ Software Park และ Urban

          จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายไทย - จีนตอไป               Planning Academy ของเมืองเซี่ยเหมิน มณฑลฝูเจี้ยน
                                                                                                (อานตอหนา 8)
         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12