Page 11 -
P. 11
การควบคุมแมลงวันผลไมดวยแตนเบียน
Diachasmimorpha longicaudata Ashmead
ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
คาการเบียน นับเปนการควบคุมในระยะยาวแมไมมีการ
ปลอยแตนเบียนอยางตอเนื่อง ดังนั้น การใชแตนเบียน
D. longicaudata จึงเปนวิธีการหนึ่งที่ควรนําไปใชรวมในการ
แมลงวันผลไม Bactrocera dorsalis (Diptera: ควบคุมแมลงวันผลไมโดยชีววิธีไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนการ
Tephritidae) เปนแมลงศัตรูพืชที่สําคัญทางเศรษฐกิจของ ลดการใชสารเคมีฆาแมลงและลดปญหาสารพิษตกคางใน
ประเทศไทย รวมทั้งประเทศตาง ๆ ทั่วโลก เขาทําลายพืชผัก สภาพแวดลอม จึงมีการขยายผลและอบรมเพื่อถายทอดความรู
และผลไมไดหลายชนิด เปนแมลงที่มีพื้นที่อาศัยกวาง และพบ วิธีการเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณแตนเบียน D. longicaudata
การระบาดตลอดทั้งป ซึ่งถือวาเปนแมลงศัตรูพืชที่ตองมีการ ในหองปฏิบัติการแกบุคลากรในหนวยงานราชการและ
ควบคุมหรือปองกันกําจัด การควบคุมแมลงวันผลไมมีหลายวิธี นักศึกษาที่สนใจเพื่อนําไปใชในการควบคุมแมลงวันผลไมตอไป
เชน การใชกับดัก เหยื่อลอโปรตีน สารฟโรโมน การใชสารเคมี การเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณแตนเบียน D. longicaudata
ฆาแมลง และการควบคุมโดยชีววิธีโดยใชเชื้อราเขียวและ ในหองปฏิบัติการ ตองเลี้ยงแมลงวันผลไมซึ่งเปนแมลงอาศัย
แตนเบียน Diachasmimorpha longicaudata Ashmead ของแตนเบียน ทําไดโดยการใชอาหารเทียม (modified
แตนเบียน D. longicaudata เดิมรูจักในชื่อ semi - artificial diet) ซึ่งศึกษาโดยแสน (2529) เพื่อเปน
Biosteres (Opius) comperei ถือไดวาเปนแมลงศัตรู อาหารเลี้ยงหนอนแมลงวันผลไม B. dorsalis มีขั้นตอนและ
ธรรมชาติที่มีบทบาทสําคัญในการควบคุมประชากรแมลงวัน วิธีการผลิตดังนี้
ผลไมศัตรูพืช ซึ่งตัวใหอาศัยของแตนเบียนชนิดนี้คือ แมลงวัน การเลี้ยงเพิ่มปริมาณแมลงวันผลไม
ผลไม B. dorsalis โดยแตนเบียนเขาเบียนแมลงวันผลไม Bactrocera dorsalis
ในระยะตัวออนวัยสุดทาย และตัวเต็มวัยของแตนเบียน
จะฟกออกจากซากดักแดของแมลงวันผลไมตัวใหอาศัย 1. เก็บรวบรวมผลไมที่ถูกทําลาย
(larva - pupal parasitoid) จากการสํารวจเบื้องตนพบวาแตนเบียน โดยแมลงวันผลไม
D. longicaudata เปนแตนเบียนสําคัญของแมลงวันในสกุล
tephritid ที่พบในภาคใตของประเทศไทย ดังนั้น ศูนยวิจัย 2. นําผลไมที่ไดใสกลองเลี้ยงแมลง รองดวย
ควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ ภาคใต มหาวิทยาลัย เวอรมิคูไลต (vermiculite) ที่อบฆาเชื้อ
สงขลานครินทร โดย รองศาสตราจารย ดร.จิราพร เพชรรัตน
และคณะนักวิจัย ไดศึกษาประสิทธิภาพของแตนเบียน 3. เมื่อตัวเต็มวัยแมลงวันและแตนเบียนออกจาก
D. longicaudata เพื่อควบคุมแมลงวันผลไมในสวนฝรั่ง ผลไมที่บมเก็บตัวเต็มวัยโดยแยกแตนเบียน
ที่บานควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และที่บาน และแมลงวันใสในกรงเลี้ยงแมลง ภายในกรง
บางเหรียง อําเภอบางกลํ่า จังหวัดสงขลา พบวา สวนที่มี แตนเบียน ใชฟองนํ้าชุบนํ้าผึ้งละลายนํ้า 10%
การปลอยแตนเบียน D. longicaudata แตนเบียนสามารถ และฟองนํ้าชุบนํ้าสะอาด และในกรงแมลงวัน
ตั้งตัว (ชั่วคราว) ไดในสภาพแปลงภายใน 1 เดือน โดยเริ่มปลอย ใสอาหาร คือ นํ้าตาลทราย yeast extract,
จํานวน 500 ตัว ในเดือนตอมา พบแตนเบียนในผลฝรั่งที่เก็บ Yeast hydrolysate (อัตรา 2:1:1) และฟองนํ้า
มาไดรอยละ 3.06 ทั้ง ๆ ที่แปลงทั้งสองไมปรากฏแตนเบียน ชุบนํ้าสะอาดเพื่อเปนอาหาร
ชนิดนี้มากอน หลังจากนั้นเก็บขอมูลผลฝรั่งทุก ๆ เดือน พบวา
มีคาเฉลี่ยการเบียนของแตนเบียนในแปลงปลอยแตนเบียน
ถึงรอยละ 8.88 เมื่อเทียบกับแปลงที่ไมมีการปลอยจะไมมี (อานตอหนา 12)
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 11