Page 7 -
P. 7

การพัฒนาการบริหารจัดการนํ้าอยางเหมาะสม                                                  water


         เพื่อปฏิรูปภาคการใชนํ้าเกษตรกรรมของประเทศไทย                                          SMART





                                                              สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) โดยศูนยวิจัย
                                                              วิศวกรรมนํ้าและโครงสรางพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                                                              พระจอมเกลาพระนครเหนือ รวมกับ สํานักบริหารจัดการนํ้า
                                                              และอุทกวิทยา กรมชลประทาน ในการดําเนินการพัฒนา
                                                              เครื่องมือเพื่อบูรณาการเชื่อมโยงฐานขอมูลดานการเกษตรของ
                                                              ประเทศใหสอดคลองกับความตองการนํ้า (Demand)  ปริมาณ
                                                              นํ้าตนทุน (Supply) เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐ นําไปสูการ
                                                              กําหนดรูปแบบการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมที่เหมาะสม
                                                              ตอสถานการณนํ้าตนทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงรายฤดูกาล และ
                                                              การพัฒนาขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการบริหารจัดการนํ้าโดย

                 การบริหารจัดการนํ้าของประเทศไทยตามนโยบายการ การมีสวนรวมของประชาชน และมีการพัฒนาใหเห็นผลเปน
          พัฒนาประเทศไทยในยุค 4.0 ไดมุงเนนใหเกษตรกร (smart  รูปธรรมโดยการทดสอบและปฏิบัติการทดลองจริงในพื้นที่
          farmer) เขาถึงขอมูลสถานการณนํ้า ปริมาณนํ้าตนทุน ความ ตนแบบนํารองในพื้นที่ศึกษาลุมนํ้าเจาพระยา
          เหมาะสมของพื้นที่ เพื่อใหเกษตรกรสามารถตัดสินใจวางแผน      ปจจุบันกรมชลประทานเปนหนวยงานที่มีภารกิจ
          การทําเกษตรกรรมใหไดผลผลิตสูงสุด แตจากความไมสมดุล ในการวางแผนการบริหารจัดการนํ้าฤดูฝนและฤดูแลงโดยการ
          ระหวางปริมาณนํ้าตนทุนที่มีความไมแนนอนและความตองการ จัดสรรนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค ระบบนิเวศ เกษตรกรรม
          นํ้าที่มีการเปลี่ยนแปลงจากวิถีชีวิตการทําการเกษตรกรรมของ ในเขตชลประทาน และการอุตสาหกรรม ไดใชเครื่องมือและ
          เกษตรกรที่ไมทราบปริมาณนํ้าตนทุนที่แนชัด ไดสงผลกระทบ องคความรูของบุคลากรผูเชี่ยวชาญในการจําลองสถานการณ
          ใหเกิดความเสียหายตอปริมาณ คุณภาพ และราคาของผลผลิต นํ้าตนทุนลวงหนารายฤดูกาล  ที่อาศัยผลการคาดการณ
          การเกษตร รวมถึงทําใหการวางแผนการบริหารจัดการนํ้าภายใต ปรากฏการณเอลนิโญ ลานีญา และขอมูลสถานการณนํ้าในอดีต
          ปริมาณนํ้าตนทุนและทรัพยากรที่มี การชดเชยเยียวยาใหแก มาจําลองสถานการณนํ้ามาก นํ้าปกติ และนํ้านอย เพื่อทําการ
          เกษตรกรยังไมสามารถนําไปปฏิบัติจริงไดอยางเหมาะสม   วางแผนปฏิบัติการระบายนํ้าจากอางเก็บนํ้า การจัดสรรนํ้า
          โดยในชวงเวลาที่ผานมาประเทศไทยไดมีการรับมือเพื่อแกไข ผานคลองสงนํ้าเขาสูพื้นที่ชลประทาน  และวางแผนการ
          กับปญหานํ้ามาโดยตลอด ทั้งการใชมาตรการใชสิ่งกอสราง เพาะปลูกพืชรายฤดูกาล นําไปสูการคาดการณผลผลิตของ

          เพื่อรับมือกับการบริหารจัดการนํ้าในสภาวะวิกฤติ เชน การ กรมสงเสริมการเกษตร  และการกําหนดปริมาณการนํา
          สรางเขื่อน แหลงกักเก็บนํ้าตนทุน ทางผันนํ้า การพัฒนาระบบ เขา - สงออก ของกระทรวงพาณิชย
          ชลประทาน ในการแกไขปญหานํ้าที่เกิดขึ้น แตทวามาตรการ     โครงการวิจัยนี้จึงไดพัฒนาเครื่องมือการบริหารจัดการ
          ดังกลาวอาจสงผลกระทบกับสมดุลของแมนํ้าหรืออาจทําให นํ้าชื่อวา “โปรแกรมชวยตัดสินใจในการบริหารจัดการนํ้า
          สภาพการกักเก็บนํ้าในทางนํ้าลดลง จึงเห็นความจําเปนในการ แบบบูรณาการและทันตอเหตุการณ” หรือ NARK 4.0 ใหแก
          เปลี่ยนมาใชมาตรการแบบไมใชสิ่งกอสราง เชน การคาดการณ กรมชลประทานในพื้นที่ศึกษาลุมนํ้าเจาพระยา ครอบคลุม 23
          และติดตามสภาวะอากาศ การบริหารจัดการอางเก็บนํ้า และ จังหวัด และ 27 โครงการชลประทาน โดยการถอดความรูของ
          การกําหนดแผนการเตรียมภัย กอน ระหวาง และหลังเกิดภัย  บุคลากรผูเชี่ยวชาญของกรมชลประทานมาพัฒนาเปนแบบ
          เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการนํ้า โดยไมจําเปนตอง จําลองทางคณิตศาสตรที่สะทอนสภาพการบริหารจัดการนํ้า
          กอสรางพัฒนาแหลงนํ้าตนทุนเพิ่มเติม               และการไหลของนํ้าตามความเปนจริง มาจัดทําเปนโปรแกรมที่
                 ดวยเหตุนี้ จึงเปนแนวคิดและที่มาของการสนับสนุนทุน บูรณาการแบบจําลองยอยตลอดกระบวนการวางแผนการบริหาร
          การวิจัย “โครงการพัฒนาการบริหารจัดการนํ้าอยางเหมาะสม จัดการนํ้า ตั้งแตการพัฒนาแบบจําลองการคาดการณปริมาณ
          เพื่อปฏิรูปภาคการใชนํ้าเกษตรกรรมของประเทศไทย หรือ  ฝนลวงหนา 1 ป แบบจําลองการคาดการณปริมาณนํ้าไหลเขา
          waterSMART” จากเครือขายองคกรบริหารงานวิจัยแหงชาติ  อางเก็บนํ้า แบบจําลองการวางแผนการตัดสินใจระบายนํ้าจาก
          (คอบช.) สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และ อางเก็บนํ้า แบบจําลองการไหลในลํานํ้า แบบจําลองการจัดสรรนํ้า


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)                                                (อานตอหนา 8)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12