Page 6 -
P. 6

2. หลังคาตูเพาะเห็ด ที่สามารถเปดออกได     ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินโครงการ
                 3. กลองควบคุมอัตโนมัติ ที่สามารถควบคุมชุดรดนํ้า    การนําเทคโนโลยีไปพัฒนาในงานดานการเกษตร เพื่อ
          ใหมอเตอรปมนํ้าขนาดเล็กดูดนํ้าจายเขาตูเพาะเห็ดอัตโนมัติ  แกปญหาผลผลิตตกตํ่าจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพ

          ตามคําสั่งจากกลองควบคุมอัตโนมัติซึ่งมีเซ็นเซอรใชวัด อากาศในปจจุบัน ถือไดวาเปนการแกปญหาไดตรงจุด และ
          อุณหภูมิและความชื้นติดอยูดานหลังตัวเครื่อง เพื่อใชตรวจจับ แนวทางที่สรางอาชีพเสริมดวยการเพาะเห็ดสําหรับประชาชน
          คาความชื้นและอุณหภูมิภายในตู โดยกลองควบคุมอัตโนมัติ ผูมีรายไดนอย จะชวยลดรายจายเพิ่มรายไดในแตละวันโดย
          สามารถรักษาอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมตามที่ผูใชงาน การเพาะเห็ดเมื่อเทียบกับงานทําเกษตรดานอื่นที่จะตองใช
          ไดตั้งโปรแกรมเอาไว                                เวลาในการดูแลมาก ซึ่งโครงการพัฒนาตูเพาะเห็ดสําหรับ
                 4. ผนังตูเพาะเห็ด ทําจากวัสดุพลาสติกกันความรอน ชุมชนไดวางแบบใหใชระบบควบคุมอัตโนมัติเขามาแทนการ
          และความชื้น หนาไมนอยกวา 10 มิลิเมตร สามารถถอดมา ดูแลแบบเดิมจึงทําใหเกษตรกรมีเวลาที่จะทํากิจกรรมอยางอื่น
          ทําความสะอาดไดงาย                                 หรือทําอาชีพของเกษตรเอง
                 5. ถาดรองตู ใชสําหรับรองนํ้าที่รดกอนเชื้อเห็ด เพื่อ  โครงการมีการสงเสริมใหเกิดการสรางเครือขายระบบ

          เพิ่มความชื้นใหกับตูเพาะเห็ดอัตโนมัติ             เพาะเห็ดอัตโนมัติในระดับจังหวัดในกลุมเปาหมาย กอใหเกิด
          คุณสมบัติของตูเพาะเห็ดอัตโนมัติ                    การเพิ่มรายไดในชุมชนอันเกิดจากความรูที่ไดรับการถายทอด
                 ตูเพาะเห็ดอัตโนมัติออกแบบใหสามารถใสถุงเห็ด ไปสูการใชงานจริงในระบบการเพาะเห็ดที่ใหญขึ้นของเกษตรกร
          ไดจํานวน 120 – 130 ถุง โดยวางในลักษณะรูปตัว U เพื่อ นําไปสูรายไดที่เพิ่มขึ้นของภาคครัวเรือน และเกษตรกรมีการ
          ชวยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของดอกเห็ดไดสูงถึง 100  ปรับเปลี่ยนระบบการเพาะเห็ดจากเดิมที่ใชคนในการดูแล
          เปอรเซ็นต (เมื่อกอนเชื้อสมบูรณ) ออกแบบมาใหงายในการ เปลี่ยนมาใชระบบควบคุมอัตโนมัติ เพื่อลดแรงงานคนและ
          ทําความสะอาดและเคลื่อนยาย โครงสรางทําจากอลูมิเนียม เพิ่มผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการนําเอาองคความรูที่ไดนําไปใช

          และวัสดุกันความรอนฉนวนพลาสติก ขนาดแรงดันไฟฟา 12  ประโยชน
          Vdc พลังงานไฟฟา 7 วัตต คาใชจายในการเพาะเห็ดนอยกวา   ผูสนใจสามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : นายพิทักษ
          30 บาทตอเดือน                                      สถิตวรรธนะ  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
          ปริมาณผลผลิตตอรอบการปลูก                           โทรศัพท 089 738 6158 E-mail : pitak_st@hotmail.com
                 ระยะการออกดอกครั้งแรกภายใน 4 – 5 วัน ผลผลิต หรือ pitak.s@rmutsv.ac.th
          แบงออกเปน 3 ระยะ ในชวงสัปดาหที่ 1 เก็บผลผลิตได 3 – 5
          กิโลกรัม สัปดาหที่ 2 เก็บผลผลิตได 3 กิโลกรัม ในสัปดาหที่ 3
          ผลผลิตจะออกสมํ่าเสมอ 2 – 3 ขีด ภายใน 3 วัน สรุปผลผลิต
          ตอจํานวน 120 กอน เฉลี่ยตอกอน 3 – 4 ขีด ผลผลิตทั้งหมด

          เมื่อกอนเชื้อเห็ดสมบูรณ อุณหภูมิภายนอกเหมาะสม 28 – 32
          องศาเซลเซียส ประมาณ 36 – 40 กิโลกรัม รายไดเฉลี่ยตอวัน
          130 - 150 บาท/ตูเพาะเห็ด 1 ตู
                 ทั้งนี้ ตูเพาะเห็ดอัตโนมัติไดมีการขยายผลองคความรู
          เพื่อพัฒนาดานการเกษตรในพื้นที่ของจังหวัดในภาค
          ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ไดแก จังหวัดอุดรธานี สกลนคร
          หนองบัวลําภู เลย นครพนม มุกดาหาร หนองคาย บึงกาฬ

          และมหาสารคราม โดยไดสงมอบตูเพาะเห็ดอัตโนมัติใหแก
          จังหวัดดังกลาว และไดจัดกิจกรรมสงเสริมการใชงานตูเพาะเห็ด
          อัตโนมัติในโครงการ “การขับเคลื่อนชุมชนอยูดีมีสุข เพื่อ
          ไทยนิยม ยั่งยืน ดวยวิจัยและนวัตกรรม” ซึ่งนักวิจัยไดลงพื้นที่
          รวมกับ วช. เพื่อถายทอดองคความรูการใชตูเพาะเห็ดอัตโนมัติ
          และวิธีการเพิ่มผลผลิตการเพาะเห็ดในโรงเรือนใหแกเกษตรกร
          สามารถประยุกตใชองคความรูดังกลาวไปพัฒนาโรงเพาะเห็ด
          เดิมใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11