Page 7 -
P. 7

4 หนวยงานลงนาม MOU สนับสนุนงานวิจัยดานการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า


                            เรงแกไขปญหานํ้าขาดแคลน และปญหานํ้าทวม



                 น
                 นํ้าเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญและจําเปนํ้าเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญและจําเปน สามารถสงถึงคลองสงนํ้าสายหลักและสายซอยจากแบบจําลอง
         ตอทั้งมนุษย พืช และสัตว ปจจุบันประเทศไทยมีการใชทรัพยากร คณิตศาสตร รวมกับพื้นที่ความเหมาะสมของการทําเกษตรกรรม
         นํ้าที่เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะนํ้าเพื่อการเกษตร ทําให การปลูกพืช (Agri - Map) ทําใหสามารถเสนอแนะแนวทางเลือก
         ทรัพยากรนํ้าเกิดการขาดแคลนและทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ การ การทําเกษตรกรรมที่มีปริมาณนํ้าตนทุนเพียงพอ และเปนพื้นที่
         บริหารจัดการทรัพยากรนํ้าอยางมีประสิทธิภาพ จึงตองอาศัยงาน เหมาะสมในการทําการเกษตรกรรมปลูกพืชใหแกเกษตรกร
         วิจัยและการมีสวนรวมของทุกภาคสวน จึงจะสามารถจัดการกับ     ความสําเร็จของโครงการวิจัยดังกลาวไดกอใหเกิดประโยชน
         ระบบการจัดการนํ้าของประเทศไดอยางยั่งยืน ความทาทายใน ตอภาคสวนที่สําคัญ ทั้งในดานความตองการนํ้า (Demand) จาก
         การบริหารจัดการนํ้าภายใตสภาวะความเปลี่ยนแปลงของสภาพ การเสนอแนะแนวทางการทําเกษตรกรรมที่สอดคลองกับปริมาณ
         ภูมิอากาศที่มีความผันผวนมากในปจจุบัน การใชขอมูลสถิติเพียง นํ้าตนทุนซึ่งสามารถเปนขอมูลขาวสารเชิงรุกใหแก เกษตรกรใน
         อยางเดียวในการวางแผนและวิเคราะห คอนขางมีความเสี่ยง จึง การวางแผนการทําเกษตรกรรม ดานปริมาณนํ้า (Supply) โดยการ
         จําเปนตองใชเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสม สอดคลองในบริบทของ พัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการนํ้าใหแกกรมชลประทานใชใน
         การบริหารจัดการและสิ่งที่จะทําใหเกิดความแมนยํา ใกลเคียงกับ การคาดการณและวางแผนการตัดสินใจระบายนํ้าไดอยางเหมาะสม
         สภาพความเปนจริงไดก็คือ สถิติขอมูลการพยากรณ การติดตามซึ่ง และดานนโยบาย (Policy) ใหรัฐบาลสามารถใชในการกําหนด
         จําเปนตอง ใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรในการพยากรณ วางแผน  มาตรการพัฒนาหรือสงเสริมผลผลิตภาคการเกษตรที่มีความเหมาะสม
         และติดตามสถานการณนํ้าอยางใกลชิด                   และสอดคลองกับปริมาณนํ้าตนทุนที่มีความผันผวนรายฤดูกาล
                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ  (วช.)  และ เปนการสรางความมั่นคงทางนํ้าและความมั่นคงทางอาหารใหแก
         สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) โดย ศูนยวิจัย ประเทศไทย
         วิศวกรรมนํ้าและโครงสรางพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี        ดังนั้นเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการพัฒนาองคความรู
         พระจอมเกลาพระนครเหนือ และกรมชลประทาน ไดรวมมือ และการใชประโยชนผลงานวิจัยดานการบริหารจัดการทรัพยากร
         กันพัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการนํ้าที่มีชื่อวา “โปรแกรม นํ้า เพื่อใหสามารถรับมือกับความผันผวนของปริมาณนํ้าไดอยาง
         การบริหารจัดการนํ้าแบบบูรณาการและทันตอเหตุการณ หรือ  ทันตอเหตุการณและนําไปใชไดจริง สํานักงานคณะกรรมการวิจัย
         NARK4.0” ที่ปจจุบันเปนสวนหนึ่งของศูนยปฏิบัติการนํ้าอัจฉริยะ  แหงชาติ (วช.) จึงไดรวมกับสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
         (Smart Water Operation Center; SWOC) กรมชลประทาน  (องคการมหาชน) (สวก.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
         เปนศูนยรวมของขอมูล ศูนยกลางของการพยากรณ การติดตาม พระนครเหนือ และกรมชลประทาน ลงนามในบันทึกขอตกลง
         และการสั่งการ ครอบคลุมทั้งมิติของการขาดแคลนนํ้าในชวงฤดูแลง  ความรวมมือทางวิชาการดานการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า
         และมิติกรณีนํ้ามากในชวงเกิดอุทกภัย                  เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2561 ณ หองประชุมธารทิพย ชั้น 4
                 โปรแกรม NARK4.0 เปนเครื่องมือที่สามารถคาดการณ อาคารศูนยปฏิบัติการนํ้าอัจฉริยะ กรมชลประทาน สามเสน
         ปริมาณฝน ปริมาณนํ้าไหลเขาอางเก็บนํ้า และวางแผนตัดสินใจ กรุงเทพมหานคร  โดยมี  พลอากาศเอก  ประจิน  จั่นตอง
         ระบายนํ้าจากอางเก็บนํ้าไดลวงหนา 12 เดือน ที่ระดับความแมนยํา รองนายกรัฐมนตรี ใหเกียรติรวมเปนสักขีพยาน ในการลงนาม
         มากกวารอยละ 80 และสามารถใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร บันทึกขอตกลงความรวมมือในครั้งนี้ ทั้งนี้เพื่อเปนการบูรณาการ
         จําลองปริมาณการไหลในลํานํ้า การจัดสรรนํ้าในระดับโครงการ การทํางานรวมกันระหวางสถาบันการศึกษา และหนวยงานภาครัฐ
         ชลประทาน ไปจนถึงการคํานวณผลผลิตและรายได ผลการพัฒนา ในการสรางองคความรูและใชประโยชนดานการบริหารจัดการ
         แบบจําลองฯ สามารถเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกในลุมนํ้าเจาพระยาเฉลี่ย ทรัพยากรนํ้าตอไป
         ไดรอยละ 18.02 และสามารถรักษาปริมาณการใชนํ้าตนทุนจาก
         อางเก็บนํ้าเฉลี่ยไดมากถึงรอยละ 32.99 เปนการสรางความมั่นคง
         ทางนํ้าตอสภาวะภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ทําใหกรมชลประทานมี
         เครื่องมือในการคาดการณสถานการณนํ้าและชวยในการตัดสินใจ
         ในการวางแผนการบริหารจัดการนํ้าลวงหนารายฤดูกาลไดอยางมี
         ประสิทธิภาพ นอกจากนี้งานวิจัยไดมีการพัฒนา “แผนที่เกษตรที่
         เหมาะสมกับการคาดการณปริมาณนํ้าตนทุน” จากการพิจารณา
         ปริมาณนํ้าตนทุนคาดการณทั้งปริมาณฝนและนํ้าชลประทานที่


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12