Page 16 -
P. 16

กิจกรรม วช.

                                               อบรมหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตรอาหารไทยเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต :
                                                                  การประกอบอาหารไทยสุขภาพสําหรับ Grand Age

                                                                                   สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
                                                                            รวมกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปดอบรมหลักสูตร
                                                                            “การพัฒนาหลักสูตรอาหารไทยเพื่อการเรียนรู
                                                                            ตลอดชีวิต : การประกอบอาหารไทยสุขภาพสําหรับ
                                                                            Grand Age” ระหวางวันที่ 23 - 24 มกราคม 2562
         ณ อาคาร 12 หองปฏิบัติการโรงเรียนการอาหารนานาชาติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางตอเนื่องโดยหลักสูตร “แนะนําณ อาคาร 12 หองปฏิบัติการโรงเรียนการอาหารนานาชาติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางตอเนื่องโดยหลักสูตร ณ อาคาร 12 หองปฏิบัติการโรงเรียนการอาหารนานาชาติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางตอเนื่องโดยหลักสูตร ณ อาคาร 12 หองปฏิบัติการโรงเรียนการอาหารนานาชาติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางตอเน
         การใชชีวิตประจําวันอยางมีสุขภาพดวยอาหาร” เปนเมนูอาหารสุขภาพที่ผูสูงวัยตองการ โดยพัฒนาจากเมนูอาหาร 4 ภาค เพื่อใหผูสูงอายุมีความมั่นใจ
         ในการประกอบอาหารรับประทานเองอยางเหมาะสม ซึ่งโครงการนี้เปนโครงการวิจัยยอย ภายใตกิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย ตอบสนอง
         นโยบายรัฐบาล และตามวาระระเบียบวาระแหงชาติ กลุมเรื่อง ครัวไทย สูตลาดโลก ประจําปงบประมาณ 2560


          สานสัมพันธ 3 สภา พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การศึกษา และการวิจัย

               สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สํานักงานเลขาธิการ
               สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สํานักงานเลขาธิการ
          สภาการศึกษา (สกศ.) และสํานักงานคณะกรรมการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
          แหงชาติ (สศช.) จัดการสัมมนาวิชาการ เรื่อง “ปฏิรูป 3 สภาอยางไร ใหปฏิรูป
          ประเทศสําเร็จ” และการแขงขันกีฬา 3 สภา ครั้งที่ 6 เพื่อเสริมสรางวัฒนธรรมความรวมมืออันดีระหวางหนวยงานราชการ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ
                            2562 โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ เปนประธานเปดการสัมมนาและรวมเสวนา
                            ทางวิชาการ มีการแขงขันกีฬา ฟุตบอล วอลเลยบอล กีฬามหาสนุก การประกวดกองเชียร และเชียรลีดเดอร ทั้งนี้
                            มีผูบริหารทั้งสามหนวยงานพรอมดวยเจาหนาที่เขารวมกิจกรรมเปนจํานวนมาก ในการนี้ ศาสตราจารย นายแพทย
                            สิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดรวมลงแขงขันเตะฟุตบอลในครั้งนี้ดวย ณ สํานักงานใหญ
                            การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ถนนงามวงศวาน กรุงเทพมหานคร

                    สปน. รวมกับ วช. ขับเคลื่อนกิจกรรมรณรงคสรางการรับรูและนําองคความรูเพื่อพัฒนาคลอง


              สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) รวมกับ สํานักงาน
          คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในฐานะคณะอนุกรรมการสนับสนุน
          นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน ภายใตโครงการจิตอาสาเพื่อการพัฒนา
          ลํานํ้ากับชีวิตบนวิถีแหงความพอเพียง จัดกิจกรรมการรณรงคสราง
          การรับรูและนําองคความรูเพื่อพัฒนาคลอง เพื่อสรางการรับรูและ  ณ วัดหลักสี่ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ
          เผยแพรองคความรูในการดูแลรักษาพัฒนาคลอง และเปนตนแบบ
          ใหแกวัดและชุมชนใกลวัด ดูแล รักษา พัฒนาคลอง เพื่อใหประชาชน  (DustBoy)” เพื่อใหชุมชน
          มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น                              ตระหนักถึงอันตราย
              กิจกรรมในครั้งนี้ วช. นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวของกับ  จากฝุนละออง สามารถ
          การบําบัดนํ้าเสีย จํานวน 2 ผลงาน ไดแก เครื่องผลิตปุยหมัก เปนการ  เฝาระวังและปฏิบัติ
          ผลิตปุยหมักอยางงายสามารถผลิตใชไดเองในครัวเรือนและแปลง  ตัวอยางถูกตองในการ
          เกษตรโดยนําเศษใบไมเศษอาหารเหลือมาทําเปนปุยหมักแลวนําไป  สวมหนากากปองกัน
          ปลูกตนไม และนวัตกรรมระบบถังปฏิกรณชีวภาพที่ใชตัวกลางฟลม  ฝุนละออง รวมทั้งหลีกเลี่ยง  เครื่องตรวจวัดปริมาณ
          ชีวภาพ 2 ขั้นตอนแบบประหยัดพื้นที่สําหรับการบําบัดนํ้าเสียจากวัด  การทํากิจกรรมนอก  ฝุน PM10 และ PM2.5   เครื่องผลิตปุยหมัก
                                                                                     (DustBoy
          โรงเรียนและชุมชนริมนํ้า ซึ่งชวยบําบัดนํ้าเสียใหสะอาดกอนปลอย  อาคารเปนเวลานานเมื่อ
          ออกสูแหลงนํ้าสาธารณะและยังสามารถนํากลับมาใชประโยชนได คาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินมาตรฐาน
          ทําใหชวยลดปญหามลพิษทางนํ้าและชวยประหยัดทรัพยากรนํ้า ซึ่งจะชวยลดการสูญเสียและเจ็บปวยทางดานสุขภาพของชุมชนได
          ใหแกประเทศ รวมถึงการพัฒนาระบบคลังความรูงานวิจัยและ โดยสามารถติดตามขอมูลขาวสารผานชองทาง https://www.cmuccdc.org
          นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาลํานํ้าบนเว็บไซตในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส  และ https://www.facebook.com/cmu.ccdc
          www.krw.nrct.go.th เพื่อเชื่อมโยงขอมูลองคความรู เทคโนโลยี   ทั้งนี้ กิจกรรมดังกลาวไดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2562
          และนวัตกรรม รวมทั้งภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของกับลํานํ้าและชีวิต  ณ วัดเชียงรากนอย และวัดเปรมประชากร และในวันที่ 15 มีนาคม 2562
          นอกจากนี้ยังไดนํานวัตกรรม “เครื่องตรวจวัดปริมาณฝุน PM10 และ PM2.5  ณ วัดหลักสี่ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยนายสุวพันธุ ตันยุวรรธนะ
                                                              รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธีเปด และ
                                                              นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เปนผูกลาว
                                                              รายงาน ทั้งนี้  รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีไดเยี่ยมชม
                                                              นิทรรศการของ วช. โดยมี ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล
                    ณ วัดเชียงรากนอย และวัดเปรมประชากร       เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ใหการตอนรับ
                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16