Page 6 - NRCT121
P. 6

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล





                                                 การถอดพันธุกรรมเฝ้าระวัง




                                               ไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์




                                                            ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) กระทรวงกำร
                                                     อุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุนกำร

                                                     ศึกษำลักษณะพันธุกรรมไวรัสโควิด-19 ที่ระบำดในประเทศไทย
                                                     พร้อมเฝ้ำระวังสำยพันธุ์กลำยพันธุ์จำกต่ำงประเทศ จำกกำร
                                                     ศึกษำรหัสพันธุกรรมท�ำให้ทรำบว่ำไวรัสโคโรนำสำยพันธุ์
                                                     ใหม่ 2019 ที่เคยระบำดในประเทศไทยมีกำรกลำยพันธุ์

                                                     แต่ได้หำยไปแล้ว เนื่องจำกมีกำรควบคุมที่ดีมำก แต่
                                                     กำรควบคุมได้ดีที่สุดคือกำรใช้วัคซีน









                 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์       นักวิจัยได้ศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมและ
         เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมาร การระบาดวิทยาเชิงโมเลกุลของเชื้อไวรัสโควิด-19
         เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ในประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างจากผู้ติดเชื้อในพื้นที่ต่าง ๆ

         ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยลักษณะทางพันธุกรรมและ รวมทั้งพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) ตั้งแต่
         การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019   การระบาดในระลอกแรกและการระบาดระลอกใหม่ โดย
         ในประเทศไทย จากส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวง จากการศึกษาการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสว่าเป็นวิวัฒนาการ
         การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)   ของสิ่งมีชีวิตเพื่อให้เกิดความหลากหลายตามธรรมชาติ

         ซึ่งนอกจากจะศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมและการระบาด เช่นเดียวกับมนุษย์ที่มีวิวัฒนาการจนมีมนุษย์หลายเชื้อชาติ
         วิทยาเชิงโมเลกุลของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019   ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน แต่เนื่องจากไวรัสมีจ�านวน
         หรือโควิด-19 แล้ว ยังศึกษาการกลายพันธุ์และการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างพันธุกรรมที่น้อยกว่ามนุษย์หลายพันล้านตัวอย่าง และ
         สายพันธุ์ของเชื้อไวรัสด้วย                           มีอายุสั้นกว่ามาก จึงท�าให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ง่าย

                                                                     ไวรัสโคโรนามีหลายสายพันธุ์ แต่เดิมที่ท�าให้เกิด
                                                              ไข้หวัดธรรมดาในเด็กเป็นไวรัสโคโรนาที่พบกันเป็นประจ�า
                                                              อยู่แล้ว ต่อมาก็มีไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่เกิดจากการ
                                                              ข้ามสายพันธุ์ ซึ่งเชื่อกันว่าข้ามสายพันธุ์จากสัตว์สู่คน จนมาถึง

                                                              ปี พ.ศ. 2562 เกิดโรคอุบัติใหม่มาจนถึงทุกวันนี้คือโรคติดเชื้อ
                                                              ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ซึ่งถือเป็นภัยพิบัติที่ค่อนข้าง
                                                              รุนแรงในรอบ 100 ปี สิ่งที่ต้องติดตามและเป็นที่กังวลมาก
                                                              คือการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม และได้มีการเปลี่ยนแปลงการ

                                                              กลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นในประเทศอังกฤษ ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่เดือน
                                                              ตุลาคม - พฤศจิกายน 2563 แล้ว แต่ประเทศอังกฤษเริ่มสังเกต
                                                              พบเมื่อเดือนธันวาคม 2563


                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11