Page 7 - NRCT121
P. 7
การถอดพันธุกรรมเฝ้าระวัง
ไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์
จากการศึกษาวิจัยทาง ต้องให้ทุกคนมีภูมิต้านทาน และผู้ที่ติดเชื้อแล้วต้องไม่ก่อโรค
พันธุกรรมและระบาดวิทยาเชิงโมเลกุล ไปสู่ผู้อื่นอีก โดยให้เชื้อเป็นเพียงเชื้อหวัดธรรมดา ทุกคนต้องมี
ของเชื้อไวรัสโควิด-19 พบการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิคุ้มกัน ดังนั้นวัคซีนในปัจจุบันจึงมุ่งลดความรุนแรงของโรค
เชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์อังกฤษว่ามีการเปลี่ยนแปลง จากการติดตามพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโควิด-19
กรดอะมิโนที่ต�าแหน่ง 501 ซึ่งท�าให้ไวรัสจับกับผิวเซลล์ของ ที่เข้ามาในประเทศไทย นักวิจัยพบว่าผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส
มนุษย์ได้ดียิ่งขึ้น ท�าให้แพร่กระจายและระบาดได้ง่ายกว่า โควิด-19 สายพันธุ์ที่กลายพันธุ์จากประเทศอังกฤษ ได้รับการ
สายพันธุ์อื่น ๆ ที่ระบาดไปทั่วโลกก่อนหน้านั้น แต่สายพันธุ์ ควบคุมอย่างรัดกุมและมีมาตรการที่เข้มงวดกว่าผู้ป่วยที่ไม่
อังกฤษไม่มีผลต่อระบบคุ้มกันหรือภูมิต้านทาน ดังนั้นเชื้อ ได้ติดเชื้อไวรัสกลายพันธุ์จากประเทศอังกฤษ เช่น มาตรการ
ไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์อังกฤษจึงได้กลายเป็น Variants of การแยกเพื่อกักกันโรค ระยะเวลาในการเฝ้าระวัง นอกจากนี้
Concern (VOC) วาระส�าคัญของวงการแพทย์ทั่วโลกที่ต้อง ยังพบด้วยว่าการระบาดระลอกแรกในประเทศไทยมีเชื้อไวรัส
ให้การพิจารณาในทันที โควิด-19 ที่กลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์เฉพาะที่พบได้เฉพาะ
หลังจากนั้นพบการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในประเทศไทย แต่จากการควบคุมที่ดีมากท�าให้ไม่พบเชื้อ
ที่เป็นวาระส�าคัญของวงการแพทย์ทั่วโลกอีก 2 สายพันธุ์ คือ กลายพันธุ์ดังกล่าวอีก
สายพันธุ์ที่พบครั้งแรกในแอฟริกาใต้เมื่อเดือนตุลาคม 2563
ซึ่งพบว่าไวรัสจับเซลล์ได้ดีขึ้น ติดเชื้อง่ายขึ้น และอาจหนี
ภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น ซึ่งอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพของวัคซีน
เนื่องจากพัฒนาโดยใช้ไวรัสสายพันธุ์ดั้งเดิม อีกหนึ่งสายพันธุ์
พบครั้งแรกที่ประเทศบราซิลเมื่อเดือนธันวาคม 2563 พบว่า
ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์จับไวรัสสายพันธุ์นี้ได้น้อยลง
ส�าหรับประเทศไทย การสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช.
ให้ถอดรหัสพันธุกรรมและติดตามอยู่ตลอดเวลา ได้ด�าเนินการ
ถอดรหัสพันธุกรรมในผู้ป่วยที่อยู่ในสถานกักกันที่เดินทางมา
จากต่างประเทศ ผลปรากฏว่ามีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม
ไปทีละเล็กทีละน้อย และท�าให้ไวรัสก่อโรคโควิด-19 น่าจะ
ไม่หมดไปจากโลกนี้ เพราะในขณะนี้มีผู้ป่วยจากทุกประเทศ
ทั่วโลกกว่า 100 ล้านคน โดยการจะท�าให้โรคนี้สงบลงได้คือ
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 7