Page 8 - NRCT121
P. 8

งานวิจัยเพื่อประชาชน

                    งานวิจัยอาหารเพื่อผู้ป่วยเบาหวาน



                        รสชาติไม่จืดชืดต�ารับท้องถิ่นสุรินทร์






























                                                                     ส�าหรับแรงบันดาลใจที่ผลักดันในการพัฒนาต�ารับ
                                                              อาหารท้องถิ่นส�าหรับผู้ป่วยเบาหวานนั้น เนื่องมาจาก ดร.สุธีราฯ

                                                              อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ที่มีความหลากหลาย
                                                              ทางชาติพันธุ์ ได้แก่ ไทยเขมร ไทยกูย และไทยลาว จึงได้พบ
                                                              ความหลากหลายของต�ารับอาหารถิ่นที่แฝงด้วยภูมิปัญญา

                                                              ในการปรุงที่เป็นเอกลักษณ์ และหลายต�ารับมีองค์ประกอบ
                                                              เป็นผักและสมุนไพรพื้นบ้านที่มีคุณสมบัติในการช่วยชะลอ
                 ส�ำนักงำนวิจัยแห่งชำติ (วช.) สนับสนุนทุนวิจัยพัฒนำ และควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด อีกทั้งได้พบเห็นผู้ป่วย
          ต�ำรับอำหำรท้องถิ่นสุรินทร์ส�ำหรับผู้ป่วยเบำหวำน ให้ผู้ป่วยมี  เบาหวานที่ต้องทนรับประทานอาหารที่จืดชืด จึงเกิดความคิด
          ทำงเลือกในกำรรับประทำนอำหำรได้อย่ำงมีควำมสุข ได้ต้นแบบ ในการพัฒนาต�ารับอาหารที่เป็นทางเลือกให้ผู้ป่วยเบาหวาน

          ต�ำรับอำหำรพิเศษ 40 ต�ำรับ วำงแผนต่อยอดทดสอบประสิทธิภำพ รับประทานอาหารได้อย่างมีความสุข
          ควบคุมระดับน�้ำตำลในเลือด วิเครำะห์คุณค่ำทำงโภชนำกำร       ผลจากการพัฒนาต�ารับอาหารถิ่นที่เป็นอาหารพิเศษ
         เผยแพร่องค์ควำมรู้แก่สำธำรณะ และผลิตในรูปแบบอำหำรพร้อม เพื่อผู้ป่วยเบาหวาน ดร.สุธีราฯ พัฒนาต�ารับอาหารพิเศษได้

         รับประทำนในเชิงพำณิชย์ต่อไป                          40 ต�ารับ ซึ่งแบ่งเป็นต�ารับอาหารคาว 21 ต�ารับ เช่น
                 ดร.สุธีรา อินทเจริญศานต์ อาจารย์ประจ�าสาขา แกงสายบัวปลาทู  แกงหัวปลีใส่ไก่  แกงเผือกปลาย่าง
         วิชาการส่งเสริมสุขภาพเด็กและผู้สูงอายุ ภาควิชาเกษตรและ ต้มปลาช่อนผักแขยง ต�ามะเขือพวงใบมะขาม และต�ารับ
         สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย อาหารหวาน 19 ต�ารับ เช่น ขนมสายบัว ขนมเทียนแก้ว
         ราชภัฏสุรินทร์ พัฒนาต�ารับอาหารท้องถิ่นสุรินทร์เป็นอาหาร ขนมผักปลัง วุ้นกระเจี๊ยบเขียว ข้าวต้มใบมะพร้าวสูตรผสมบุก

         พิเศษส�าหรับผู้ป่วยเบาหวาน โดยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย และผักปลัง เป็นต้น
         จากส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ผ่านการบริหารจัดการ
         ทุนวิจัย โดยส�านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ภายใต้

         แผนงานงบประมาณมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการของ
         ประเทศโดยเร่งด่วน ปีงบประมาณ 2561 กลุ่มเรื่องอาหาร
         เพื่อเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยผู้บริโภค



                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13