Page 9 - NRCT121
P. 9
โดยเกณฑ์ในการ ในการวิจัยต�ารับอาหารพิเศษนี้ ดร.สุธีราฯ ยังมี
คัดเลือกอาหารท้องถิ่นมาพัฒนา ผู้ร่วมวิจัย ประกอบด้วยอาจารย์จากภาควิชาเกษตรและ
เป็นอาหารพิเศษนี้ คัดเลือกจากต�ารับอาหารท้องถิ่นที่ สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
ประชาชนยังคงนิยมบริโภค และเป็นต�ารับอาหารที่ใช้วัตถุดิบ ราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ นายจีระเดช อินทเจริญศานต์ อาจารย์
พืชผักพื้นบ้าน หาง่ายในท้องถิ่น และมีสรรพคุณช่วยชะลอ ประจ�าสาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพเด็กและผู้สูงอายุ นางสาว
และควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด อีกทั้งยังมีวิธีปรุงประกอบ ดาวินี ชิณวงศ์ อาจารย์ประจ�าสาขาวิชาการแพทย์แผนไทย
ไม่ซับซ้อนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรุงอาหารรับประทานเองได้ และผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญญา กิ่งจันทร์ อาจารย์ประจ�าสาขา
ที่บ้าน วิชาสาธารณสุขศาสตร์ พร้อมด้วย นางสมนึก โตมะสูงเนิน
การพัฒนาต�ารับอาหารท้องถิ่นเพื่อผู้ป่วยเบาหวานนี้ นักโภชนาการช�านาญการพิเศษ กลุ่มงานโภชนศาสตร์
นักวิจัยพบอุปสรรคในเรื่องของวัตถุดิบไม่เพียงพอ เนื่องจาก โรงพยาบาลสุรินทร์
ผักพื้นบ้านบางชนิดขึ้นอยู่กับฤดูกาล รวมถึงการคงคุณค่า
ทางโภชนาการและการยืดอายุการเก็บรักษาอาหารที่อยู่ ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :
ในรูปการปรุงสุกพร้อมรับประทาน ทั้งนี้ ทีมวิจัยมีแนวทาง ดร.สุธีรำ อินทเจริญศำนต์ อำจำรย์ประจ�ำสำขำวิชำกำรส่งเสริม
ในการต่อยอดผลงานต่อไป คือ การทดสอบประสิทธิภาพ สุขภำพเด็กและผู้สูงอำยุ ภำควิชำเกษตรและสิ่งแวดล้อม
ในการควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน คณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์
ทางคลินิก การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและพฤกษเคมี โทรศัพท์ 0 4455 8344 และ 08 9152 7795
จากห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันผลการควบคุมระดับน�้าตาล อีเมล bigsutheera@gmail.com และ sutheera.in@srru.ac.th
ในเลือด จากนั้นยังมีแนวทางเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับ
ต�ารับอาหารพิเศษส�าหรับผู้ป่วยเบาหวานแก่สาธารณะ และ
ต่อยอดเทคโนโลยีผลิตอาหารพิเศษในรูปแบบอาหารพร้อม
รับประทานส�าหรับเชิงพาณิชย์ต่อไป
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9