Page 10 - NRCT123
P. 10

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล
                   งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

                                              การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสและ
                                              การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสและ
                                  ของเสียอันตรายชุมชนตามแผนงานว�จัยทาทายไทย
                                  ของเสียอันตรายชุมชนตามแผนงานว�จัยทาทายไทย





















                                   รองศาสตราจารย ดร.สุธา ขาวเธียร
                                   รองศาสตราจารย ดร.สุธา ขาวเธียร
          ผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศดานการจัดการสารและของเสียอันตราย
          ผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศดานการจัดการสารและของเสียอันตราย
                 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนตนทุนสําคัญ กําหนดและเนนการวิจัยเชิงรุก ซึ่งผลการวิจัยจะตองมีเปาหมายของ
          ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเมื่อเกิดการพัฒนาแลว ผลผลิตและผลลัพธที่เปนรูปธรรม สามารถนําไปใชประโยชนไดจริง
          มักจะมีการใชทรัพยากรธรรมชาติไมเหมาะสม เกิดมลพิษที่มีผลตอ  โดยสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) สนับสนุนทุนวิจัย
          สิ่งแวดลอมทั้งคุณภาพดิน นํ้า และอากาศ สงผลกระทบเชิงลบ แกศูนยความเปนเลิศดานการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.)
          กลับมายังทรัพยากรอยางหลีกเลี่ยงไมได การวิจัยและนวัตกรรมจึงเปน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภายใตแผนงานวิจัยทาทายไทย : การจัดการ
          แนวทางเบื้องตนในการหาทางออกและคําตอบในการแกปญหาดังกลาว  ขยะอิเล็กทรอนิกสและของเสียอันตรายชุมชน ระยะที่ 1 โดยไดเริ่ม
          และเปนปจจัยสนับสนุนที่สําคัญในการดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ. 2562 ซึ่งมี 4 เปาหมายที่สําคัญ ไดแก
          ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม  1) เพื่อศึกษาวงจรและจัดทําระบบฐานขอมูลขยะอิเล็กทรอนิกสและ
          โดยเนนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการอนุรักษ รักษา และฟนฟูฐาน ของเสียอันตรายชุมชน 2) เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการ
          ทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า  รวบรวมและขนสงขยะอิเล็กทรอนิกส และของเสียอันตรายชุมชน
          สนับสนุนการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของ 3) เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบในการเสริมสรางความตระหนัก
          ประชาชน เรงแกไขปญหาวิกฤติสิ่งแวดลอม เพื่อควบคุมมลพิษ ดานสิ่งแวดลอมจากการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสและของเสียอันตราย
          ทั้งทางอากาศ นํ้าเสีย ขยะ และของเสียอันตรายที่เกิดจากการผลิตและ ชุมชนอยางถูกตอง และ 4) เพื่อวิจัยและพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ
          การบริโภค สงเสริมการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม  เพื่อลดผลกระทบจากพื้นที่เสี่ยง
          ลดการปลอยกาซเรือนกระจกและเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัว  จากการดําเนินงานแผนงานวิจัยการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส
          ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งการบริหารจัดการเพื่อ และของเสียอันตรายชุมชน ระยะที่ 1 ไดขอสรุปสองสวนคือ สวนที่หนึ่ง
          ลดความเสี่ยงดานภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพื่อสรางเมืองที่เปนมิตร ไดทราบปริมาณและประเภทของขยะอิเล็กทรอนิกสที่เกิดขึ้น
          กับสิ่งแวดลอมหรือเมืองสีเขียวและสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับ ณ แหลงกําเนิด โดยจากผลการประเมินปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส
          ประเทศ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  จํานวน 7 ชนิด ไดแก โทรทัศน ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผา
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยและ คอมพิวเตอรตั้งโตะ โนตบุก โทรศัพทมือถือหรือแท็บเล็ต และของเสีย
          นวัตกรรมตามแผนงานสําคัญของประเทศ ภายใตกรอบการวิจัยที่ อันตราย 2 ชนิด ไดแก หลอดไฟ และถานไฟฉาย ดวยวิธี Consumption
                                                              use model พบวา ขยะอิเล็กทรอนิกสและของเสียอันตรายชุมชน
                                                              ทั้งประเทศ ในป พ.ศ. 2562 มีปริมาณ 607,575.75 ตันตอป
                                                              ซึ่งมีปริมาณใกลเคียงกับการคาดการณของกรมควบคุมมลพิษ
                                                              ทั้งนี้ จากการนําขอมูลปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกสที่ไดจากการประเมิน
                                                              มาประมวลผลรวมกับขอมูลทางสถิติ เพื่อศึกษาผังการไหลการจัดการ
                                                              ขยะอิเล็กทรอนิกส จํานวน 7 ชนิด พบวา ขยะอิเล็กทรอนิกสจาก
                                                              ผูกอกําเนิดจะถูกสงตอไปยังผูเก็บรวบรวมและรื้อแยก โดยแบง
                                                              การจัดการออกเปน 2 กลุม ไดแก การจัดการโดยโรงงานอุตสาหกรรม
                                                              (รอยละ 28) และการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสโดยชุมชน (รอยละ 50)

                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15