Page 13 - NRCT123
P. 13

จากผลกระทบของปญหาดังกลาวขางตน ผูชวย           คุณสมบัติพิเศษของชุดอุปกรณรองรับสิ่งขับถายจาก
          ศาสตราจารย นายแพทยวรวิทย วาณิชยสุวรรณ สาขาวิชา ทวารเทียมที่ผลิตโดยยางพาราไทย คือ ระคายเคืองผิวนอย
          ศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  เนื่องจากใชยางสกัดโปรตีนตํ่า ซึ่งไดมีการพัฒนาขนาด
          จึงไดผลิตชุดอุปกรณรองรับสิ่งขับถายจากทวารเทียม  ของอุปกรณที่เหมาะสมกับลักษณะทางกายภาพของคนไทย

          จากยางพาราไทย เพื่อทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ  มีคุณสมบัติสามารถเก็บกลิ่นไดดีกวาดวยเทคโนโลยีของ
          ดวยความรวมมือของสหสาขา อาทิ ดานผูผลิตยางพารา  PTTGC และมีตนทุนการผลิตตํ่ากวาการนําเขา 2 - 10 เทา
          ดานการแพทย ภาคเอกชนหลายองคกร เปนตน โดยไดรับทุน โดยผลิตภัณฑไดรับมาตรฐานจากสํานักงานคณะกรรมการ
          สนับสนุนการวิจัยจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)  อาหารและยา (อย.) และไดรับรางวัลนวัตกรรมตาง ๆ จาก

          ในการดําเนินงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล หลายสถาบัน รวมทั้งเปนการชวยสนับสนุนกลุมเกษตรกร
          ในการแปรรูปและเพิ่มมูลคาใหกับยางพาราไทย           ชาวสวนยางใหมีรายไดเพิ่ม และชวยลดการขาดแคลนอุปกรณ
                                                              ดังกลาว ทําใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อีกทั้งยังสามารถ
                                                              ประหยัดงบประมาณจากภาครัฐและตอบสนองความตองการ

                                                              เครื่องมือทางการแพทยที่จําเปนอีกดวย
                                                                     ซึ่งในขณะนี้ไดดําเนินการอยูในขั้นตอนของการ
                                                              จัดซื้อจัดจาง เพื่อนําผลิตภัณฑเขาสูโรงพยาบาลหลายแหง
                                                              โดยที่ผานมาไดมีการแจกจายไปยังในหลายจังหวัดดวยการ

                                                              สนับสนุนของสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และมีการ
                                                              สั่งซื้อจากผูที่สนใจเขามาอยางตอเนื่อง คิดเปนประมาณ
                                                              รอยละ 5 ของจํานวนการผลิตทั้งหมด ในอนาคตคาดวา
                                                              จะเปนที่ตองการเพิ่มมากขึ้น  จึงควรมีการสงเสริมและ

                                                              พัฒนาการใชยางพารารวมกับทางการแพทยใหมากขึ้นอยาง
                                                              ตอเนื่อง โดยพัฒนาใหไดมาตรฐานตาง ๆ เพิ่มเติม อาทิ
                                                              มาตรฐาน Halal เพื่อความนาเชื่อถือของผลิตภัณฑและ
                                                              พรอมสงออกไดตอไป


                  ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดขอมูลเพ�่มเติมไดที่ : ผูŒช‹วยศาสตราจารย นายแพทยวรว�ทย วาณิชยสุวรรณ
                        สาขาว�ชาศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร โทรศัพท 06 1959 5656

                      สามารถติดตอสั่งซื้ออุปกรณไดที่ : บร�ษัท NovaMedic เลขที่ 125-125/1 หมู‹ที่ 2 ตําบลแพรกษาใหม‹
                                             อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10280

         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16