Page 11 - NRCT123
P. 11

อยางไรก็ตามมีขยะอิเล็กทรอนิกสบางสวนที่ยังไมไดรับการจัดการ
          โดยจะถูกเก็บไวในสวนของครัวเรือน สวนที่สอง ไดทราบเกี่ยวกับ
          วิธีการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสโดยชุมชน  ชุมชนรื้อแยกขยะ
          อิเล็กทรอนิกสกระจายอยูทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทย โดยชุมชน
          รื้อแยกขยะอิเล็กทรอนิกสขนาดใหญอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
          เมื่อขยะอิเล็กทรอนิกสเขาสูชุมชน ผูประกอบการทําการรื้อแยกดวยวิธี
          ทางกายภาพ เพื่อใหไดวัสดุที่สามารถนําไปขายตอได
                 สวนเศษวัสดุเหลือทิ้งจะถูกนําไปเผาหรือฝงกลบ ซึ่งไมถูกตอง
          ตามหลักวิชาการ จากผลการศึกษาพบวา ขยะอิเล็กทรอนิกสทั้งหมด จากการรื้อแยกวัสดุเหลือทิ้งที่ชัดเจน ซึ่งทําใหเกิดแนวคิดที่วา ทําอยางไร
          ที่เขาสูพื้นที่ทั้งหมด สามารถรื้อแยกเปนวัสดุที่ขายไดคิดเปนรอยละ  จึงจะยกระดับมาตรฐานการทํางานใหมีความปลอดภัยมากขึ้น และ
          78 ไดแก เหล็ก พลาสติก ทองแดง อะลูมิเนียม สายไฟ แผงวงจร  มีความเปนไปไดมากนอยเพียงใดที่จะผลักดันใหชุมชนเหลานี้เขามาอยู
          โลหะผสม และสแตนเลส ซึ่งเศษวัสดุเหลือทิ้งคิดเปนรอยละ 22 ไดแก  ในระบบที่สามารถควบคุมดูแลไดอยางถูกตองตามกฎหมาย นักวิจัย
          แกว พลาสติกทนความรอน โฟมโพลียูรีเทน ยาง สารละลายนํ้าเกลือ  ภายใตแผนงานวิจัยฯ จึงไดทําการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางในการลด
          และสารทําความเย็น นอกจากนี้พบวา ในกระบวนการรื้อแยกและจัดการ ผลกระทบ โดยไดสรางสถานประกอบการตนแบบดวยหลักการทาง
          วัสดุบางประเภท เชน การเผาสายไฟเพื่อใหไดทองแดง การทุบหนาจอ  วิศวกรรมศาสตร เพื่อลดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่แหลงกําเนิด
          CRT ในโทรทัศน เพื่อใหไดเหล็ก และการกําจัดโฟมในตูเย็นดวย ซึ่งสถานประกอบการนี้มีแนวคิดที่วา ผูประกอบการสามารถใชประโยชน
          วิธีการเผา ทําใหเกิดการปนเปอนสูสิ่งแวดลอมและสงผลตอสุขภาพ จากพื้นที่ไดอยางคุมคาและกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งในดานประโยชน
          ของชาวบานในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาสิ่งแวดลอม การใชสอยพื้นที่และการปฏิบัติงานของผูประกอบการ แตอยางไรก็ตาม
          ดานอากาศ ดิน นํ้าผิวดิน และนํ้าใตดินบริเวณพื้นที่ประกอบกิจกรรม ตองใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด นอกจากนี้ นักวิจัยยังได
          รื้อแยก และพื้นที่โดยรอบที่เกี่ยวเนื่องกับการรื้อแยกขยะอิเล็กทรอนิกส  ศึกษานวัตกรรมเครื่องปอกสายไฟ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจาก
          จากการวิเคราะหโลหะหนัก 8 ชนิด ไดแก ทองแดง นิกเกิล สังกะสี  การเผาสายไฟเพื่อใหไดทองแดง อยางไรก็ตามนวัตกรรมดังกลาวยังตอง
          แมงกานีส โครเมียม แคดเมียม ตะกั่ว และสารหนู พบวา พื้นที่ประกอบ ทําการพัฒนาและขยายผลตอไป
          กิจกรรมรื้อแยกมีแนวโนมปริมาณโลหะหนักสูงกวาในพื้นที่ที่ไมประกอบ  จากผลการศึกษาที่ไดจากแผนงานวิจัยฯ ในระยะที่ 1 ทําให
          กิจกรรมรื้อแยก โดยเฉพาะบริเวณในสถานที่ทิ้งขยะที่มีกิจกรรม ไดขอมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะ
          การทุบหนาจอ CRT และการเผาสายไฟพบปริมาณโลหะหนักสูงที่สุด  อิเล็กทรอนิกสและของเสียอันตรายชุมชนทั้งระบบ จนสามารถนํา
          จากผลการศึกษาทําใหทราบวาการประกอบอาชีพรื้อแยกวัสดุเหลือทิ้ง มาวางแผนการจัดการในภาพรวมไดในระดับหนึ่ง แตเพื่อใหขอมูล
          อาจกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพของผูประกอบการ และประชาชนที่ การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกสมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น จึงควรตอง
          อาศัยอยูใกลเคียง อีกทั้ง ยังสามารถกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม มีการเก็บขอมูลอยางตอเนื่องในแผนงานวิจัยฯ ระยะที่ 2 ซึ่งในการศึกษา
          และระบบนิเวศในชุมชนอีกดวย ดังนั้น เพื่อใหการประกอบอาชีพ แผนงานวิจัยฯ ระยะที่ 2 นั้น มุงหวังที่จะผลักดันใหผูที่มีสวนไดสวนเสีย
          รื้อแยกวัสดุเหลือทิ้งดําเนินตอไปไดและกอใหเกิดผลกระทบนอยที่สุด  ซึ่งเกี่ยวของกับรางพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ
          ในสวนของชุมชนรื้อแยกวัสดุเหลือทิ้งที่ไมไดมีกฎหมายใดมาควบคุม เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเขามามีสวนรวมในการจัดทํา
          ดูแลโดยเฉพาะ อาจถูกควบคุมดวยกฎระเบียบขององคกรปกครอง รางพระราชบัญญัติดังกลาว
          สวนทองถิ่น แตก็ไมไดมีมาตรการควบคุมถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16