Page 9 - NRCT123
P. 9

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล
                   งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

                   ถุงมือยางฆ‹าเชื้อดŒวยตัวเอง
                   ถุงมือยางฆ‹าเชื้อดŒวยตัวเอง

               ชวยปองกันการติดเชื้อไวรัสโคว�ด-19
               ชวยปองกันการติดเชื้อไวรัสโคว�ด-19






                                                                            ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยวรวิทย วาณิชยสุวรรณ
                                                                             ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและนวัตกรรมทางการแพทย
                                                                              สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
                                                                                           นักวิจัย
                                                              กลุมเปาหมายในสถานที่ปฏิบัติงานจริง ซึ่งกลุมเปาหมายคือ ผูปฏิบัติงาน
                 จากสถานการณการแพร‹ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  กลุมเปาหมายในสถานที่ปฏิบัติงานจริง ซึ่งกลุมเปาหมายคือ ผูปฏิบัติงาน
          2019 (COVID-19) หร�อโรคโคว�ด-19 ทําใหŒเกิดความตื่นตัวในการป‡องกัน ที่ดานตรวจคนเขาเมืองสะเดา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เพราะ
          การติดเชื้อไวรัสโคว�ด-19 ทั้งในระดับบุคคล องคกร และสังคม ภายใตŒแผน เปนพื้นที่เสี่ยงตอการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่อาจนํามาจาก
          งานว�จัยการยกระดับการใชŒประโยชนดŒานว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวัตกรรม ประเทศเพื่อนบาน และกลุมผูปฏิบัติงานในชุมชนตาง ๆ ได ทั้งนี้ คาดวา
          เชิงรุก แผนงานย‹อย โครงการตŒนแบบการยกระดับคุณภาพ และมาตรฐาน จะใชเวลาประมาณ 3 - 6 เดือน จึงจะสามารถสรุปผลการทดลอง
          ดŒานการว�จัยและนวัตกรรม ดŒานการพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก  และสงใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ประกอบการ
          สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ว�ทยาศาสตร  พิจารณาเพื่อขอขึ้นทะเบียน และผลิตออกมาจําหนายในเชิงพาณิชยได
          ว�จัยและนวัตกรรม (อว.) ไดŒใหŒทุนสนับสนุนโครงการว�จัยการพัฒนา โดยในการเคลือบสารนาโนอิมัลชันจะเพิ่มตนทุนในการผลิตประมาณ
          ถุงมือยางธรรมชาติเคลือบนํ้ายานาโนอิมัลชันป‡องกันโรคติดเชื้อไวรัส  คูละ 0.50 - 1.00 บาท สําหรับผลที่ไดจากโครงการนี้จะทําใหถุงมือยาง
          COVID-19 เพ�่อใชŒในพ�้นที่เสี่ยงด‹านสะเดา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา  มีความปลอดภัยในการใชงาน ลดการปนเปอน และปองกันการติดเชื้อ
                  ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยวรวิทย วาณิชยสุวรรณ  จากการสัมผัสลงได นอกจากนี้ ในกระบวนการผลิตคาดวาจะเพิ่ม
          ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและนวัตกรรมทางการแพทย สํานักวิจัยและ เปอรเซ็นตการใชนํ้ายางขนในประเทศได โดยกระบวนการแปรรูป
          พัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดทําการศึกษาวิจัยถึงปญหา ในระดับอุตสาหกรรมการผลิตถุงมือยางไมนอยกวา 10% ของการใช
          ของการใชถุงมือยางในกิจกรรมตาง ๆ พบวา ปญหาหนึ่งของการใช นํ้ายางขนแปรรูปในอุตสาหกรรมการผลิตถุงมือเคลือบนํ้ายานาโนอิมัลชัน
          ถุงมือยาง คือ มีเชื้อโรคติดอยูบนพื้นผิวของถุงมือยาง แตกลับไมเคยมี  ปจจุบันในอุตสาหกรรมการผลิตถุงมือยางในประเทศไทย
          การศึกษาถึงปญหาที่วา ถุงมือยางที่ใชนั้นมีสวนในการกระจายเชื้อโรค  ผูประกอบการสวนใหญนิยมใชนํ้ายางสังเคราะหมาผลิตเปนถุงมือยาง
          หรือเปนพาหะแพรเชื้อโรคระหวางบุคคลมากนอยเพียงใด ดังนั้น เพื่อลด มากขึ้นเพราะสะดวกตอการขึ้นรูป ปริมาณการใชนํ้ายางพาราจาก
          การแพรเชื้อและหยุดการกระจายของเชื้อโรคผานถุงมือยาง จึงได ธรรมชาติจึงนอยลง เมื่อเทียบสัดสวนแลวมีการใชนํ้ายางสังเคราะห
          ดําเนินโครงการวิจัยการพัฒนาถุงมือยางธรรมชาติเคลือบนํ้ายานาโน 9 สวน ในขณะที่ใชนํ้ายางจากธรรมชาติใชเพียง 1 สวนเทานั้น แตใน
          อิมัลชันปองกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อใชในพื้นที่เสี่ยง สถานการณที่มีการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ทําใหความตองการ
          ดานสะเดา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย ใชถุงมือยางเพื่อปองกันและลดโอกาสการแพรเชื้อมีมากขึ้น หากงาน
          จากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  (วช.)  เพื่อผลิตถุงมือยางพารา วิจัยการพัฒนาถุงมือยางธรรมชาติเคลือบนํ้ายานาโนอิมัลชันปองกัน
          เคลือบนํ้ายานาโนอิมัลชัน ซึ่งเปนถุงมือที่สามารถฆาเชื้อโรคไดดวยตัวเอง  โรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ประสบผลสําเร็จ จะทําใหความตองการ
                 จากผลการทดสอบในหองปฏิบัติการดวยการนําถุงมือ ถุงมือยางที่ผลิตจากนํ้ายางธรรมชาติมีมากขึ้นทั้งในประเทศและ
          ยางพาราและถุงมือไนไตรที่ผลิตจากยางสังเคราะหมาเคลือบสูตรนํ้ายา ตางประเทศ ซึ่งจะมีสวนชวยยกระดับปริมาณการใชนํ้ายางธรรมชาติ
          นาโนอิมัลชัน เพื่อปรับแตงโครงสรางพื้นผิวถุงมือยางใหมีคุณสมบัติ ใหมากขึ้น และสงผลดีตอเกษตรกรผูปลูกยางพาราของไทย
          กําจัดและฆาเชื้อโรคดวยตัวเองนั้น หลังจากการทดสอบกับกลุม  สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) มีภารกิจสําคัญ คือ สงเสริม
          อาสาสมัคร จํานวน 300 คน เปนกลุมอาสาสมัครที่ใชถุงมือยางพารา การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศในดาน
          เคลือบสารนาโนอิมัลชัน จํานวน 150 คน และอาสาสมัครที่ใชถุงมือ การพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก ซึ่ง วช. ไดสนับสนุนโครงการวิจัย
          ไนไตรเคลือบสารนาโนอิมัลชัน จํานวน 150 คน ผลปรากฏวา ทั้งสองกลุม การพัฒนาถุงมือยางธรรมชาติเคลือบนํ้ายานาโนอิมัลชันปองกัน
          ไมแตกตางกัน คือ สารนาโนอิมัลชันที่เคลือบบนถุงมือยางมีประสิทธิภาพ โรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อใชในพื้นที่เสี่ยงดานสะเดา อําเภอสะเดา
          ในการฆาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และเชื้อไวรัสไดประสิทธิภาพสูงมาก  จังหวัดสงขลา เพื่อที่จะไดนําวัตถุดิบประจําทองถิ่นที่มีอยูจํานวนมาก
          โดยถุงมือยางฆาเชื้อดังกลาวสามารถใชในการฆาเชื้อโรคไดประมาณ  ในภาคใต คือ นํ้ายางพารา ที่สามารถนํามาประยุกตใชในการดูแล
          24 ชั่วโมง ตามปริมาณสารเคลือบที่หลุดรอนจากการใชงาน   และปองกันประชาชนจากการติดเชื้อโรคโควิด-19 ได และถายทอด
                 ในสวนของการเตรียมสารเคลือบนาโนอิมัลชันและกรรมวิธี องคความรูจากงานวิจัยไปยังชุมชนทองถิ่นเพื่อยกระดับการผลิต
          ในการเคลือบถุงมือยางนั้นไดจดทะเบียนสิทธิบัตรเรียบรอยแลว  ชวยสรางรายไดใหกับประชาชน และตอบสนองความตองการพัฒนา
          และในลําดับตอไปจะรวมมือกับภาคเอกชนเพื่อผลิตถุงมือยางพารา ของทองถิ่นอยางมีประสิทธิภาพไดอยางยั่งยืนตอไป
          เคลือบสารนาโนอิมัลชัน จํานวน 30,000 คู เพื่อนําไปทดลองกับ
               ผูŒสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดขŒอมูลเพ��มเติมไดŒที่ : ผูŒช‹วยศาสตราจารย นายแพทยวรว�ทย วาณิชยสุวรรณ ผูŒอํานวยการสถาบันว�จัย
                     และนวัตกรรมทางการแพทย สํานักว�จัยและพัฒนา มหาว�ทยาลัยสงขลานคร�นทร อําเภอหาดใหญ‹ จังหวัดสงขลา 90110
                                       โทรศัพท 06 1959 5656 อีเมล worawitwanich@gmail.com
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14