Page 6 - NRCT130
P. 6
งานวิจัย : การเกษตร
นวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย”
นวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย”
นวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย”
นวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย”
นวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย”
เพิ่มมูลคา สูภาคอุตสาหกรรม
การกะเทาะผลกะลาแมคคาเดเมียในปจจุบัน นิยมใชแบบ
ใบมีดกะแทก โดยใชแรงงานคนที่มีความชํานาญและใชเวลานาน
สามารถกะเทาะไดครั้งละ 1 ผล เทานั้น โดยแมคคาเดเมีย 1 กิโลกรัม
จะใชเวลา 2 - 3 ชั่วโมง ในการกะเทาะ จึงอาจสงผลใหการผลิต
ลาชาหรือผลผลิตเสียหายได
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) จึงไดใหทุนสนับสนุน
การวิจัยแก รองศาสตราจารย ดร.ธานี ศรีวงศชัย จากภาควิชาพืชไรนา ลักษณะการใชงานนวัตกรรม “เครื่องกะเทาะเมล็ด
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หัวหนาโครงการวิจัย แมคคาเดเมีย” คือ เมื่อนําผลกะลาแมคคาเดเมียใสเขาดานบน
ใหคิดคนเครื่องกะเทาะเมล็ดแมคคาเดเมีย จากโครงการ ของเครื่องกะเทาะ ผลกะลาแมคคาเดเมียจะตกลงไปภายในเครื่อง
พัฒนามาตรฐานการผลิตแมคคาเดเมียอบแหงสําหรับชุมชน มีแกนหมุนเพื่อใหผลกะลาที่ตกลงไปกระทบกับชุดใบมีดสําหรับ
โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก วช. ในการดําเนินการพัฒนา การกะเทาะผลกะลาใหแตก จากนั้นกะลาและเนื้อในที่แยกออก
เครื่องกะเทาะแมคคาเดเมียที่สถานีวิจัยเพชรบูรณ ของคณะเกษตร จากกัน ตกลงสูถาดรองรับภายนอกเครื่องกะเทาะและนําไปสู
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในเขตพื้นที่ บานทับเบิก อําเภอหลมเกา กระบวนการอื่นตอไป โดยนวัตกรรมชุดนี้สามารถชวยยนเวลา
และ บานเข็กนอย อําเภอเขาคอ โดยรวมกับหางหุนสวนจํากัด การผลิต ตอบโจทยในระดับวิสาหกิจชุมชน อีกทั้ง ไดผลเมล็ดเต็ม
อาทิตย เวนติเลเตอร เพื่อนํามาใชในกระบวนการการแปรรูป ของแมคคาเดเมีย ถึงรอยละ 60 โดยแมคคาเดเมีย 1 กิโลกรัม
แมคคาเดเมียไดอยางมีประสิทธิภาพ จะใชเวลาการกะเทาะประมาณ 30 นาที ซึ่งอยูระหวางการพัฒนา
วิธีการที่จะทําใหไดเมล็ดเต็มมากขึ้น โดยมีการวางเปาหมาย
การขยายผล ไปสูการสรางศูนยเรียนรูการแปรรูปแมคคาเดเมีย
สําหรับชุมชน เพื่อสงเสริมและถายทอดองคความรูการแปรรูป
การผลิตแมคคาเดเมียโดยใชเครื่องกะเทาะแมคคาเดเมีย
ใหแก ชุมชนและเกษตรกร ใหเกิดรายไดมากขึ้น มีอาชีพใหม
รองรับ และเกิดการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชนสําหรับการแปรรูป
แมคคาเดเมีย และขยายผลตอไปยังเขตพื้นที่สูงตาง ๆ ซึ่งเปน
การเสริมสรางศักยภาพใหแกเกษตรกร เพิ่มผลผลิตและรายได
ใหแกเกษตรกรในพื้นที่สูงตาง ๆ อีกดวย
ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : รองศาสตราจารย ดร.ธานี ศรีวงศชัย
ภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โทรศัพท 08 1390 0091 อีเมล taneesree@yahoo.com
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)