Page 12 - NRCT131
P. 12

งานวิจัย : การเกษตร
                     งานวิจัย : การเกษตร
























                                การพัฒนาชุดตรวจโรค “ เมลิออยโดสิส” ในแพะ

                    เพื่อปองกันการเสียชีวิต พรอมพัฒนาคุณภาพนํ้านมใหเกษตรกร


                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในฐานะหนวยงาน
                             บริหารทุนวิจัย พรอมดวยหนวยงานมหาวิทยาลัยชั้นนําของภาคใต ไดมีเปาหมายในการยกระดับเศรษฐกิจภาคใตดวยวิจัย
                             และนวัตกรรมมาระยะหนึ่งแลว โดยตั้งเปาหมายใหเกิดผลผลิตพรอมใช และความคุมคาเชิงเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและสังคม
                             ซึ่งการยกระดับดานสัตวเศรษฐกิจ “แพะ” ถือเปนสิ่งสําคัญ และเพื่อใหไดผลผลิตจากการเลี้ยงแพะอยางมีคุณภาพในฐานะ
                             สัตวเศรษฐกิจภาคใต วช. จึงไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยโครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการตรวจวิเคราะหโรคเมลิออยโดสิส
                             ในแพะ ภายใตแผนงานวิจัย พัฒนาและขับเคลื่อนการเลี้ยงแพะของภาคใต ปที่ 1 (พ.ศ. 2563 - 2565) เพื่อใหเกษตรกร
                             ใชตรวจหาโรคในแพะ เพื่อปองกันการเสียชีวิต พรอมทั้งการพัฒนาคุณภาพนํ้านมแพะของเกษตรกร โดยมี ผูชวยศาสตราจารย
                             ดร.วรรณรัตน แซชั่น อาจารยประจําคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนหัวหนาโครงการวิจัย
                 เชื้อเมลิออยโดสิส เปนเชื้อแบคทีเรียกรัมลบ ซึ่งอาศัยอยู  โดยภาคใตไดมีการทําวิจัยเรื่องโรคเมลิออยโดสิส ทั้งในคน
          ไดทั้งในดิน นํ้า และแทรกตัวอยูในพืชที่ใชเปนอาหารใหกับแพะ  และในสัตว เนื่องจากอัตราการเกิดโรคในแพะสูคนในภาคใตพบวา
          แพะจึงสามารถติดเชื้อไดงาย และเปนพาหะสูคนเลี้ยงได หากรักษาไมทัน มีจํานวนเคสเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในชวงฤดูฝน รวมทั้งการหาแนวทาง
          อาจทําใหเสียชีวิตไดทั้งคนและแพะ โดยนักวิจัยคณะสัตวแพทยศาสตร  การตรวจดวยวิธีอื่นแทนการตรวจจากเลือด อาทิ นํ้าลาย เพื่อใหงาย
          ไดบูรณาการการทํางานรวมกับ คณะแพทยศาสตร เภสัชศาสตร  ตอการใชงานมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้จะชวยสรางความมั่นคง และมาตรฐาน
          เทคนิคการแพทย  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และศูนย CDC  อุตสาหกรรมการเลี้ยงแพะของเกษตรกรใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
          เพื่อพัฒนาชุดทดสอบที่สะดวกรวดเร็ว และมีความแมนยํา ใน 3 ชุดรูปแบบ   ขณะเดียวกันเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2564 ณ จังหวัดพัทลุง
          คือ ชุดตรวจ IHA (Indirect hemagglutination assay) เพื่อตรวจหา คณะทํางานดําเนินการขับเคลื่อนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
          ภูมิคุมกันตอเชื้อเมลิออยโดสิสใหกับแพะ การพัฒนาชุดตรวจ Antigen  ดานสัตวเศรษฐกิจ : ยกระดับเกษตรกรผูเลี้ยงแพะ วช. นําโดย
          ดวยวิธี Lateral Flow Agglutination Test เพื่อตรวจหาการติดเชื้อ รองศาสตราจารย ดร.สุชน ตั้งทวีวิพัฒน ประธานคณะทํางานฯ
          แบบเฉียบพลัน และการพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อดวยเทคนิค RT - PCR  ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผลการดําเนินกิจกรรมการวิจัย เรื่อง “การศึกษาและ
          จากตัวอยางปสสาวะ หรือเลือดของแพะ ซึ่งขณะนี้อยูระหวางทดสอบ พัฒนาศักยภาพการเลี้ยงแพะนมและการผลิตนํ้านมแพะของเกษตรกร
          ความแมนยํา ความรวดเร็ว (Sensitivity) ของชุดตรวจทุกรูปแบบ  ในภาคใต” ของ ดร.ปตุนาถ หนูเสน แหง คณะทรัพยากรธรรมชาติ
          ใหมีความสําเร็จรูปพรอมใช เพื่อมอบใหกับเกษตรกร   มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมกับ นายสันติ หมัดหมัน แหง
                                                              คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ภายใตแผนงาน
                                                              วิจัยดังกลาว ที่ศุภกิจฟารม จังหวัดพัทลุง ในการปรับเปลี่ยนสูตรอาหาร
                                                              แพะ การตรวจวิเคราะหเพื่อพัฒนาคุณภาพนํ้านม ใหสามารถตอยอด
                                                              เปนนํ้านมดิบ สบู โลชั่น ฯลฯ ที่มีคุณภาพได และการพัฒนาเปนนม
                                                              พาสเจอรไรส มาตรฐาน GMP รวมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
                                                                     โดยในการลงพื้นที่ไปตรวจเยี่ยมโครงการวิจัยในครั้งนี้ วช.
                                                              ไดนําคณะสื่อมวลชนเขาไปเยี่ยมชมการทํางานของทีมนักวิจัย
                                                              ในโครงการฯ พรอมรับการถายทอดองคความรูจากงานวิจัย เพื่อให
                                                              สื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการเผยแพรประชาสัมพันธองคความรู
                                                              จากผลงานวิจัยดังกลาวตอสาธารณชนในวงกวางอีกดวย

                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         12                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16