Page 16 - NRCT131
P. 16

กิจกรรม วช.

                                   วช. รวมกับ วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดล จัด Asian Connections
                                   วช. รวมกับ วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดล จัด Asian Connections
                                   วช. รวมกับ วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดล จัด Asian Connections
                                   วช. รวมกับ วิทยาลัยดุริยางคศิลป ม.มหิดล จัด Asian Connections
                                                  โดยวงดุริยางคฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย

                                            ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
                                     วิจัยและนวัตกรรม และ นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม พรอมดวย คุณหญิงปทมา
                                     ลีสวัสดิ์ตระกูล ประธานวงดุริยางคฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย และ ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
                                     การวิจัยแหงชาติ และ ศาสตราจารย นายแพทยบรรจง มไหสวริยะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล รวมรับชม
                                     การแสดงคอนเสิรต Asian Connections เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2565 ณ หอประชุมมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัย
                                     มหิดล ศาลายา โดยวงดุริยางคฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย เพื่อเฉลิมฉลองมิตรภาพและความรวมมือทางดนตรี
                                     ในเอเชีย นําเสนอผลงานของนักแตงเพลงชาวญี่ปุน Toru Takemitsu และนักแตงเพลงชาวจีน Xiaogang Yin,
                                     Chen Ti และ Zhou Long ผูชนะรางวัลพูลิตเซอร และยังมีการแสดงรอบปฐมทัศนของบทประพันธ Sound, Echo,
                                     and Silence สําหรับเครื่องดนตรีไทย ของ ดร.ณรงค ปรางคเจริญ คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัย
                                     มหิดล ซึ่งเปนผลงานภายใตการสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมดานการสรางสรรควิชาการงานศิลป จากสํานักงาน
                                     การวิจัยแหงชาติ (วช.) เรื่อง “โครงการประพันธดนตรีเพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางประเทศในเชิงลึก
                                     จากการถายทอดทางวัฒนธรรมผานเครื่องดนตรีพื้นบานกับวงออรเคสตรา”

          วช. รวมกับ มจธ. มอบเครื่องตรวจรอยนิ้วมือแฝง ใหกับสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ

                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมกับ(วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมกับ
          มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) มอบเครื่องตรวจรอยนิ้วมือแฝงและถายทอดเทคโนโลยี
          ใหกับเจาหนาที่ตรวจพิสูจนหลักฐานกลุมงานตรวจสถานที่เกิดเหตุ สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ เมื่อวันที่
          27 มกราคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
          การวิจัยแหงชาติ รองศาสตราจารย ดร.สุวิทย แซเตีย อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และ
          ผูชวยศาสตราจารย ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน หัวหนาโครงการฯ รวมกันมอบฯ โดยมี พลตํารวจโท วีระ จิรวีระ
          ผูบัญชาการสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ เปนผูรับมอบเครื่องตรวจรอยนิ้วมือแฝงในครั้งนี้
                 เครื่องตรวจรอยนิ้วมือแฝงนี้เปนผลผลิตของโครงการนวัตกรรมเครื่องตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝง
          สําหรับงานพิสูจนหลักฐานอาชญากรรม ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. โดยมีผูชวยศาสตราจารย
          ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน แหงคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนหัวหนาโครงการ
          วิจัย ซึ่งเครื่องตนแบบสําหรับตรวจหารอยนิ้วมือแฝงสามารถชวยใหสวนของรอยลายนิ้วมือแฝงที่หลงเหลือ
          อยูบนปลอกกระสุนปนปรากฏชัดเจนขึ้น ภายในเวลาเพียง 20 วินาที นอกจากนี้ ยังไดพัฒนาเครื่องตนแบบ
          เพื่อสําหรับใชในหองปฏิบัติการและในสถานที่เกิดเหตุ
                 ทั้งนี้ คณะผูวิจัยไดมีการจัดการอบรมและถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีใหกับตัวแทนเจาหนาที่
          ตรวจพิสูจนหลักฐานของศูนยพิสูจนหลักฐานตาง ๆ ในประเทศไทยอีกดวย

         วช. รวมกับ กอ.รมน. ขับเคลื่อนกิจกรรมภายใต MOU มุงเปาขยายผลงานวิจัยและนวัตกรรม

                            เพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนใหครอบคลุมในพื้นที่ทั้งประเทศ

                                สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เดินหนายกระดับ
                         ศักยภาพชุมชนใหเขมแข็งดวยงานวิจัยและนวัตกรรม โดยรวมกับกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.)
                         ขยายผลการใชประโยชนองคความรูจากผลงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ : ชุมชนเขมแข็งดวยวิจัยและนวัตกรรม
                         ผานกลไกขับเคลื่อนของศูนยประสานการปฏิบัติที่ 1 - 5 (ศปป.1 - 5) กอ.รมน. โดยเปาหมายนําองคความรู เทคโนโลยีไปชวย
                         ในกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มรายได สงเสริมอาชีพใหแกกลุมวิสาหกิจชุมชน ปราชญ เพื่อความมั่นคงในพื้นที่การดูแล
                         ของ กอ.รมน. โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ มอบหมายให นายธีรวัฒน บุญสม ผูอํานวยการกองสงเสริม
                         และสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ทําหนาที่เปนประธาน รวมกับ พันเอก (พิเศษ) ภัทราวุธ ทิพโกมุท รองผูอํานวยการรักษาความ
                         มั่นคงภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลาวเปดกิจกรรมการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ พรอมสงมอบนวัตกรรม “โรงสีขาวระดับชุมชน
                         เพื่อการพัฒนาที่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน” ผลงานวิจัยของ ผูชวยศาสตราจารยพัฒนา พึ่งพันธุ แหง มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ โดยมี
                         ดร.พงศกร มงคลหมู นายกองคการบริหารสวนตําบลรางจรเข ใหเกียรติกลาวตอนรับ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2565 ณ องคการบริหาร
                         สวนตําบลรางจรเข ตําบลรางจรเข อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีเปาหมายสรางตําบลมั่นคง มั่งคั่ง ตนแบบ
                         ใน 15 จังหวัด 8 นวัตกรรม ในพื้นที่ 33 ชุมชน เพื่อทํากิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม เรื่อง “โรงสีขาวระดับชุมชน
                         เพื่อการพัฒนาที่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน” โดยมีเปาหมายขยายผลเทคโนโลยีโรงสีขาวระดับชุมชนไปยังพื้นที่ชุมชนเปาหมาย
                         2 ชุมชน ใน 2 จังหวัด ไดแก 1) องคการบริหารสวนตําบลรางจรเข หมูที่ 2 ตําบลรางจระเข อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                         และ 2) องคการบริหารสวนตําบลโรงเข หมูที่ 2 บานนาฉอก ตําบลโรงเข อําเภอบานลาด จังหวัดเพชรบุรี โดยจัดกิจกรรมเสริมสราง
                         ความเขมแข็งกลุมมวลชน โดยการยกระดับศักยภาพความเขมแข็งของชุมชนดวยวิจัยและนวัตกรรม
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16