Page 10 - จดหมายข่าว วช 139
P. 10

กิจกรรม วช.


                                 การประกวด “ผลงานประดิษฐคิดคน” ประจําปงบประมาณ 2566














              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดประกวด (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดประกวด (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดประกวด
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
       “ผลงานสิ่งประดิษฐคิดคน” เพื่อขอรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ ประจําป 2566 ภายใตแนวคิด “ความมั่นคง มั่งคั่ง และ
                                                                             “ความมั่นคง มั่งคั่ง และ
       ยั่งยืน” ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 19 - 20 กันยายน 2565 ณ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร
             ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 19 - 20 กันยายน 2565 ณ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร
       โดยมีผลงานเขารวมจัดแสดงนิทรรศการเพื่อประกวด จํานวน 148 ผลงาน ใน 9 สาขาวิชาการ ไดแก สาขาวิทยาศาสตรกายภาพ
                                                                             สาขาวิทยาศาสตรกายภาพ
                                                                                   สาขาวิทยาศาสตร
       และคณิตศาสตร อาทิ ชุดทดสอบแอลกอฮอลในนํ้าลาย และ “ปนโต” เครื่องสแกนอาหารแบบชาญฉลาด, สาขาวิทยาศาสตร
                                                                                            สาขา
       การแพทย อาทิ ชุดตรวจวัณโรคแบบอานผลดวยตาเปลา MTB Stirip และ ชุดตรวจซิฟลิสดวยแถบดีเอ็นเอ, สาขา
       วิทยาศาสตรเคมีและเภสัช อาทิ แผนแปะแผลจากเมือกของเมล็ดแมงลักที่มีสวนผสมของสารสกัดมาตรฐานบัวบก และ
                          อาทิ แผนแปะแผลจากเมือกของเมล็ดแมงลักที่มีสวนผสมของสารสกัดมาตรฐานบัวบก และ
                                                                                  อาทิ เครื่องลําเลียง
       เอทีเครวมกับเคมีไฟฟาแบบไมติดฉลากสําหรับการวินิจฉัยโรคโควิด-19, สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา อาทิ เครื่องลําเลียง
       ขาวเปลือก และ ผลิตภัณฑอาหารเสริมสุขภาพในสัตวจากเครื่องในจระเข, สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย อาทิ
                                                                                            อาทิ
       นวัตกรรมการเพิ่มมูลคาทอง และ เตาบินโรโบติกบาริสตา, สาขาปรัชญา อาทิ การผลิตกระจกเกรียบตามอยางโบราณ
                                                              อาทิ การผลิตกระจกเกรียบตามอยางโบราณ
       เพื่อพัฒนาสูการบูรณะและตอยอดงานศิลปกรรมไทย และ นวัตปะการัง : ปะการังเทียมที่มีโครงสรางเลียนแบบธรรมชาติ
       ดวยกระบวนการออกแบบชีวจําลอง, สาขาสังคมวิทยา อาทิ นวัตกรรมพลาสมาสรางมูลคาผลิตภัณฑชุมชนสรางสรรค
       วิถีใหม และ ระบบกลองตรวจจับและแจงเตือนการออกนอกเขตอุทยานของสัตวปา, สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
       นิเทศศาสตร อาทิ “ฟูดพรอม” เทคโนโลยีชาญฉลาดสําหรับการใหโภชนบําบัดและการผลิตอาหารแบบเฉพาะเจาะจง
       และ ระบบปญญาประดิษฐเพื่อวิเคราะหการกะพริบตาโดยไมตั้งใจดวยกลองความเร็วสูง และ สาขาการศึกษา อาทิ
       แอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรูดวยเกมเสมือนจริงบนมือถือสําหรับนิสิตสัตวแพทย: เรื่องกายวิภาคสวนหัวของสุนัข และ
       การออกแบบของเลนเลาเรื่อง “ตามรอยพอ” โดยใชระบบการประกอบแบบสลอตเทเปอรจอยท เปนตน
              โดยเปนผลงานจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาที่เขารวมในการประกวดฯ จํานวนกวา
       38 แหง

        วช. สนับสนุนเครือขายวิจัยภูมิภาค จัดตั้ง “ศูนยวิจัยชุมชน สงเสริมอัตลักษณทองถิ่น

                          ทองเที่ยวไหมโบราณ บานเสี้ยวนอย” จังหวัดชัยภูมิ










                                                                                                  ดร.วิภารัตน ดีออง
                                                                                            ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุน
       เครือขายวิจัยภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สงเสริมชุมชนบานเสี้ยวนอย จังหวัดชัยภูมิ ชูอัตลักษณเสนไหม และ
       ภูมิปญญาการผลิตเสนไหม พรอมจัดตั้ง “ศูนยวิจัยชุมชนทองเที่ยวไหมโบราณ บานเสี้ยวนอย” นําวิทยาศาสตร วิจัย
       และนวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑผาไหม สงเสริมอาชีพ และรายไดใหกับคนในชุมชนไดอยางยั่งยืน โดยมี
       พิธีเปดศูนยวิจัยชุมชนฯ เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2565 ณ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
       การวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธีเปดฯ พรอมมอบปายศูนยวิจัยชุมชน
              วช. ไดรวมกับเครือขายวิจัยภูมิภาคทั้ง 4 ภูมิภาค จัดตั้ง “ศูนยวิจัยชุมชน” ใหครอบคลุมทั่วประเทศ
       โดยเนนกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในชุมชนไดเขาถึงงานวิจัย นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช รวมถึง
       เชื่อมโยงในการพัฒนาการประกอบอาชีพ และพัฒนาวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ซึ่งปจจุบันไดมี
       การจัดตั้งศูนยวิจัยชุมชน จํานวน 56 ศูนย ซึ่งในครั้งนี้ เปนการเปดตัวศูนยวิจัยชุมชนแหงที่ 10 ซึ่งดําเนินการโดย
       เครือขายวิจัยภูมิภาค : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15