Page 11 - จดหมายข่าว วช 139
P. 11

กิจกรรม วช.


 การประกวด “ผลงานประดิษฐคิดคน” ประจําปงบประมาณ 2566  NRCT TALK : ผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจําป 2565
                 (ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจสรางสรรค


            และดานการพัฒนาเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ อุปกรณอัจฉริยะ)


               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
       กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
       วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มีหนาที่ในการ
       สงเสริม สนับสนุน การวิจัย สิ่งประดิษฐ
       และนวัตกรรมในหลายรูปแบบ ทั้งในการ
       สนับสนุนแผนงานของการพัฒนา การสรางแรงจูงใจ รวมถึงการสรางเวที  ของคูดี้ เคยูทัวร คือ นิสิต นักศึกษา ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บุคลากร
       สําคัญในการเชิดชู และใหโอกาสนักวิจัย นักประดิษฐ ไดนําเสนอผลงาน  และผูประกอบการหอพัก อะพารตเมนตรอบสถานศึกษา สําหรับประโยชน
       วิจัยและนวัตกรรมผานกิจกรรมการแถลงขาว “เปดบานงานวิจัยและ  ที่จะไดจากคูดี้ เคยูทัวร มี 3 ขอ คือ 1) ใหขอมูลที่ครอบคลุมประกอบการ
       นวัตกรรม By NRCT ภายใตชื่อ NRCT TALK : ผลงานนวัตกรรมสาย  ตัดสินใจหาหอพัก อะพารตเมนต 2) ชวยประหยัดเวลาและลดขั้นตอน
       อุดมศึกษา” จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีสรางแรงบันดาลใจใหเยาวชนนําเสนอ  ในการหาขอมูล และ 3) ชวยเพิ่มโอกาสใหผูประกอบการเขาถึงผูเชา
       ผลงานวิจัยและนวัตกรรมผานสื่อมวลชน ตลอดจนการผลิตและเผยแพร  และเพิ่มรายไดใหกับผูประกอบการอีกดวย
       ประชาสัมพันธผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐคิดคนและนวัตกรรมของ  ดานการพัฒนาเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ อุปกรณอัจฉริยะ
       เยาวชนสายอุดมศึกษา เพื่อใหสื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการประชาสัมพันธ  วช. ไดมอบรางวัลระดับดี ดานการพัฒนาเทคโนโลยีปญญา
       และเผยแพรผลงานไปสูสาธารณชนเพื่อใหไดทราบและนําไปสูการ  ประดิษฐ อุปกรณอัจฉริยะ ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “หุนฝกฉีดยาเขากลามเนื้อ
       ใชประโยชนตอไป โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน  ทารกแรกเกิดดวยระบบอิเล็กทรอนิกส” จากการประกวดผลงานนวัตกรรม
       การวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธีเปดการแถลงขาวฯ และมี  นายเอนก   สายอุดมศึกษา ประจําป 2565 ใหแก นางสาวชนิตา ตัณฑเจริญรัตน
       บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เขารวมกิจกรรม  นักศึกษาสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ผูชวย
       ในครั้งนี้ดวย ณ ศูนยจัดการความรูการวิจัย ชั้น 1 อาคาร วช. 1 สํานักงาน  ศาสตราจารย ดร.มนตอมร ปรีชารัตน เปนอาจารยที่ปรึกษา
       การวิจัยแหงชาติ (วช.) ซึ่งในเดือนกันยายน 2565 วช. ไดจัดใหมีเยาวชน  “หุนฝกฉีดยาเขากลามเนื้อทารกแรกเกิดดวยระบบ
       นักประดิษฐคิดคนนวัตกรรมสายอุดมศึกษาที่ไดรับรางวัลจากการประกวด  อิเล็กทรอนิกส” ที่พัฒนาขึ้นนี้ ใชสําหรับการเรียนการสอนนักศึกษา
       ผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจําป 2565 มาแถลงตอสื่อมวลชน   พยาบาลเรื่องทักษะฉีดยาเขากลามเนื้อทารกแรกเกิด ซึ่งเปนการฉีดยา
       จํานวน 2 รางวัล ดังนี้                                 บริเวณตนขา และมีความลึกของการฉีดยาแตกตางกับวัยอื่น ๆ โดยหุนฝกนี้
       ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจสรางสรรค          สามารถใหคําแนะนํา (Feedback) ผูเรียนในเรื่องความถูกตองของ
               วช. ไดมอบรางวัลระดับดีเดน ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต   ตําแหนงการฉีดยาและระดับความลึกของเข็ม ดวยเสียงพูดวา “เยี่ยมมาก”
       และเศรษฐกิจสรางสรรค ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “คูดี้ เคยูทัวร (KUDI KU   และ “ตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง” ทําใหผูเรียนรับรูถึงระดับการเรียนรู
       TOUR)” จากการประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจําป   ของตนเอง และพัฒนาทักษะการฉีดยาของตนใหดีขึ้นจากคําแนะนําที่ไดรับ
       2565 ใหแก นางสาวธารณี หวังชูธรรม และนางสาวสรณีย ฉัตรชะลอลักษณ   รวมถึงการฝกดวยหุนฝกฯ ยังสามารถทําใหเกิดความมั่นใจในการฉีดยา
       นักศึกษา ชั้นปที่ 4 ภาควิชาบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย  จนสามารถฉีดยาอยางถูกตองและมั่นใจกับผูปวยจริงได นอกจากนี้ ผลงาน
       เกษตรศาสตร โดยมี ดร.จารุภา วิภูภิญโญ เปนอาจารยที่ปรึกษา  ชิ้นนี้ใชวัสดุอุปกรณที่มีราคาไมแพง และหาไดงายในชุมชน แตสามารถให
               “คูดี้ เคยูทัวร” หรือ “KUDI” จัดทําขึ้นเพื่อใชในการใหบริการ  ประโยชนใกลเคียงกับนวัตกรรมที่จําหนายราคาสูงในทองตลาด จึงนับวา
       ขอมูลเกี่ยวกับที่พักบริเวณมหาวิทยาลัย สําหรับนิสิตนักศึกษาที่ตองการ  เปนขอดีของการพัฒนาผลงานชิ้นนี้ขึ้นมาเปนสื่อการเรียนการสอนเรื่อง
       มาเชาพักอาศัยในระหวางการศึกษา โดยผลงานนี้เปนสวนที่ไดรับ  การฉีดยาทารกแรกเกิดใหกับกลุมนักศึกษาพยาบาลในประเทศไทย
                                                              การฉีดยาทารกแรกเกิดใหกับกลุมนักศึกษาพยาบาลในประเทศไทย
       แรงบันดาลใจจากผูพัฒนาเอง ที่ตองมาศึกษาในมหาวิทยาลัยที่ไมไดอยู
       ในจังหวัดเดียวกับบานเกิด ทําใหตองมาเชาหอพักใกลมหาวิทยาลัย ทําให
       เห็นถึงความสําคัญของการไดรับขอมูลเกี่ยวกับที่อยูอาศัยเพื่อใชในการ
       ตัดสินใจ ซึ่ง Chatbot ที่พัฒนานี้ นอกจากจะใหขอมูลที่เปนประโยชนแลว
       ยังมีความโดดเดนที่สามารถชวยประหยัดทั้งเวลาและเงิน เนื่องจากมีแหลง
       ที่รวบรวมขอมูลไวให โดยที่ไมตองเดินทางมาดวยตัวเองและเปนการใชงาน
       แบบงายผานแอปพลิเคชัน Line ซึ่ง Chatbot KUDI หรือ แชทบอท
       “คูดี้ เคยูทัวร” ที่ผูประดิษฐพัฒนาขึ้นนี้ จะมาชวยขจัดปญหาความยุงยาก
       ในการคนหาหอพักของนิสิต นักศึกษา อีกทั้งยังชวยสงเสริมธุรกิจหอพัก
       อะพารตเมนตรอบสถานศึกษาที่ไดรับผลกระทบในชวงโควิด-19 กลุมเปาหมาย


         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16