Page 4 - จดหมายข่าว วช 147
P. 4
รางวัล
วช. นํานักประดิษฐไทย ควารางวัลสูงสุด
The Best Foreign Innovation Award จากงาน INTARG 2023
ณ เมืองคาโตไวซ สาธารณรัฐโปแลนด
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา โดยในวันแรกของงาน INTARG 2023 ทานอรุษา มงคลนาวิน
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม นําคณะนักประดิษฐและนักวิจัยไทย เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอรซอ สาธารณรัฐโปแลนด ไดเขาเยี่ยมชม
นําผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมเขารวมประกวดและจัดแสดงในงาน ผลงาน พรอมใหกําลังใจนักประดิษฐและนักวิจัยไทย โดยมี ดร.วิภารัตน
th
“The 16 International Invention and Innovation Show ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ใหการตอนรับ
(INTARG 2023)” ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 24 – 25 พฤษภาคม 2566 โดยผลงานของทีมนักประดิษฐไทยสามารถควารางวัลสูงสุด
ณ MCK Katowice, International Congress Centre เมืองคาโตไวซ ของงาน INTARG 2023 โดยไดรับรางวัล The Best Foreign
สาธารณรัฐโปแลนด Innovation Award ไดแก ผลงานเรื่อง “อุปกรณถางขยายหลอดเลือด
INTARG เปนงานประกวดสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมระดับ สําหรับผูปวยที่หลอดเลือดตีบตันจากการผาตัดทําเสนเลือด
นานาชาติที่จัดขึ้นในทวีปยุโรป ซึ่งในป 2023 นี้ หนวยงานเจาภาพ สําหรับฟอกไตจากวัสดุโลหะผสมจํารูปนิกเกิล-ไทเทเนียม” โดย
ในการจัดงาน Eurobusiness-Haller ไดเชิญ วช. รวมเปน Partner รองศาสตราจารย ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ และคณะ จากมหาวิทยาลัย
ของการจัดงานในฐานะหนวยงานหลักของไทยที่ไดรับมอบหมายจาก เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ซึ่งนวัตกรรมดังกลาวเปนการใช
Eurobusiness-Haller ในการพิจารณากลั่นกรองนําผลงานสิ่งประดิษฐ ขดลวดถางขยายหลอดเลือด ซึ่งเปนนวัตกรรมทางเลือกใหม
และนวัตกรรมเขารวมประกวดและจัดแสดงนิทรรศการ ซึ่งมีประเทศตาง ๆ ที่สามารถชวยเหลือผูปวยในการรักษาแทนบอลลูนเพื่อบรรเทาความ
ในภูมิภาคยุโรปและเอเชีย นําผลงานเขารวมจัดแสดงมากกวา 30 ประเทศ เจ็บปวดและยืดอายุการใชงานของหลอดเลือดฟอกไต และผลงาน
สําหรับงาน INTARG 2023 นี้ วช. ไดนําสิ่งประดิษฐและ ดังกลาวยังไดรับรางวัลในระดับ Platinum Medal อีกดวย
ผลงานวิจัยนวัตกรรมจากประเทศไทยมารวมนําเสนอในงาน จํานวน พรอมนี้ ทีมนักประดิษฐไทยยังไดรับรางวัลสําคัญ
29 ผลงาน ในโอกาสนี้ ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน on stage ของงาน ไดแก รางวัล Diamond Medal จากผลงาน
การวิจัยแหงชาติ ไดรับเชิญกลาวถึงบทบาทของ วช. ภายใตกระทรวง เรื่อง “นวัตกรรมเชิงศิลป (Aesthetic Innovation) : การประยุกตใช
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ในการสงเสริมและ เศษแกวในการประดิษฐเปนกระจกเกรียบโบราณ (Thai ancient
สนับสนุนการนําผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมของไทย เขาสูเวที glass) เพื่อเพิ่มคุณคางานศิลปกรรมไทย” โดย นายรัชพล เตจะยา
นานาชาติ และการสรางโอกาสที่ดีแกนักประดิษฐนักวิจัยของไทยที่ และคณะ จากโรงเรียนสตรีวิทยา และยังไดรับรางวัล Special Prize
วช. ไดรวมเปน Partner ของการจัดงาน ซึ่ง วช. มีความมุงหมาย on stage จาก Europe France Inventeurs (The French
ในการสรางเครือขายระดับนานาชาติในภูมิภาคตาง ๆ เพื่อสงเสริม Federation of Inventions Award)
และสนับสนุนการพัฒนาสิ่งประดิษฐงานวิจัยและนวัตกรรมของไทย นอกจากนี้ สิ่งประดิษฐและและนวัตกรรมอีก 3 ผลงาน
ใหเปนที่ยอมรับในมาตรฐานสากล ที่ไดรับ Special Prizes on stage จากองคกรนานาชาติ ดังนี้
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
4 National Research Council of Thailand (NRCT)