Page 6 - จดหมายข่าว วช 147
P. 6
รางวัล
ทีมนักประดิษฐนักวิจัยไทยควารางวัลและเหรียญรางวัลจากเวที
“The 34 International Invention, Innovation & Technology Exhibition” (ITEX 2023)
th
ณ กรุงกัวลาลัมเปอร สหพันธรัฐมาเลเซีย
สํานักสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม นําทีมนักประดิษฐและ
นักวิจัยไทยจาก 20 หนวยงาน สรางความภาคภูมิใจใหกับประเทศไทย
ในเวที “The 34 International Invention, Innovation &
th
Technology Exhibition” (ITEX 2023) ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 11 - 13
พฤษภาคม 2566 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร สหพันธรัฐมาเลเซีย
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และคณะ จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ 3) Hong Kong Student
ไดมอบหมายให นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย Invention Patent Program (HKSIP) ฮองกง มอบรางวัลใหแก
แหงชาติ เขารวมพิธีมอบรางวัลและมอบ special prize on stage ใหกับ ผลงานเรื่อง “อุปกรณตรวจจับการหกลมดวยความเรงเพื่อผูสูงอายุ” โดย
นักประดิษฐนักวิจัยที่ไดรับรางวัลจากเวที ITEX 2023 พรอมดวย นางสาวจิดาภา เผาพงษบุรีพันธุ และคณะ จากโรงเรียนวิทยาศาสตร
นายธีรวัฒน บุญสม ผูอํานวยการกองสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี
และนวัตกรรม มอบรางวัล special prize on stage ใหกับนักประดิษฐ พรอมนี้ ผลงานของนักประดิษฐและนักวิจัยไทยยังควาเหรียญ
นักวิจัยที่ไดรับรางวัลจากเวที WYIE 2023 ซึ่งเปนเวทีระดับเยาวชน รางวัลจากเวที ITEX 2023 ในประเภทตาง ๆ ดังนี้ ระดับนักประดิษฐ/
เปนที่นายินดีที่นักประดิษฐไทยสามารถควารางวัลพิเศษ นักวิจัย (ITEX) เหรียญทอง 21 ผลงาน เหรียญเงิน 18 ผลงาน และ
ของงาน on stage คือ รางวัล ITEX 2023 Best Invention Award - เหรียญทองแดง 1 ผลงาน ระดับเยาวชน (WYIE) เหรียญทอง 7 ผลงาน
International จากผลงานเรื่อง “การพัฒนาและสมบัติของพอลิพรอพิลีน/ เหรียญเงิน 8 ผลงาน และเหรียญทองแดง 2 ผลงาน พรอมดวยรางวัล
พอลิเอทิลีน ไวนิลอะซิเตท/ไมโครเซลลูโลสสําหรับประยุกตเปนวัสดุขัด Special Prize จากประเทศตาง ๆ เชน เกาหลี ฮองกง สิงคโปร และ
ในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย (Bright A Gems)” โดย ประเทศอื่น ๆ อีกเปนจํานวนมาก
รองศาสตราจารย ดร.ชิราวุฒิ เพชรเย็น และคณะ จากมหาวิทยาลัย ITEX เปนงานการประกวดและนําเสนอผลงานของนักประดิษฐ
ธรรมศาสตร ซึ่งนวัตกรรมดังกลาว เปนการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนา จากประเทศตาง ๆ ซึ่งจัดขึ้นมากวา 30 ครั้ง ถือเปนหนึ่งในนิทรรศการ
คุณสมบัติของวัสดุคอมโพสิตจากพอลิพรอพิลีน/พอลิเอทิลีนไวนิล อะซิเตท/ ที่ใหญที่สุดในเอเชีย และเปนเวทีที่นักประดิษฐและนักวิจัยจากนานาประเทศ
ไมโครเซลลูโลส เพื่อนํามาประยุกตใชเปนวัตถุดิบสําหรับผลิตวัสดุที่ใช ใหความสนใจในการเขารวมจัดแสดงผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยน
ขัดเครื่องประดับ พบวาสูตรที่มีปริมาณไมโครเซลลูโลส 30 phr ใหผลขัด ประสบการณระหวางนักประดิษฐและนักวิจัย จัดโดย Malaysian
ที่แตกตางจากสูตรอื่น ๆ อยางเห็นไดชัด คือที่พื้นผิวของชิ้นงานทองเหลือง Invention and Design Society (MINDS) หนวยงานดานการสงเสริม
มีความละเอียดและสวางขึ้น คราบสกปรกตาง ๆ หลุดออกไดหมด สิ่งประดิษฐและการออกแบบของมาเลเซีย โดยในปนี้ไดจัดในรูปแบบออนไซต
นอกจากนี้ ยังมีประดิษฐกรรมและและนวัตกรรมไทยอีก และแบงการแขงขันออกเปน 2 ระดับ ทั้งในระดับนักประดิษฐ/นักวิจัย
3 ผลงานที่ไดรับ Special Prize on stage จากองคกรนานาชาติ ดังนี้ และระดับเยาวชน สําหรับงานในป 2023 นี้ วช. ไดนําคณะนักประดิษฐ
1) Japan Intellectual Property Association (JIPA) ญี่ปุน มอบรางวัล และนักวิจัยจากประเทศไทยมากกวา 100 คน รวมทั้ง 2 ระดับของการ
JIPA Award for Best Invention in Green Technology ใหแกผลงาน ประกวด เขารวมการประกวดและนําเสนอผลงานในงาน ITEX 2023
เรื่อง “เข็มขัดเคลือบยางพาราสําหรับเคลื่อนยายผูปวย” โดย ดร.ศิริพร
ลาภเกียรติถาวร และคณะ จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงประเทศไทย 2) World Invention Intellectual Property
Associations (WIIPA) ไตหวัน มอบรางวัลใหแกผลงานเรื่อง “ไฮเอ็น
พอลิเมอรกอตัวเองไดเปนนาโนเจลที่เปนระบบนําสงสารสําคัญทางยา
และเครื่องสําอางและเพิ่มคุณสมบัติทางชีวภาพของไฮยาลูรอน
ตามธรรมชาติ” โดย รองศาสตราจารย เภสัชกรหญิง ดร.จิตติมา ลัคนากุล
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)