Page 16 - จดหมายข่าว วช 148
P. 16

กิจกรรม วช.
                   กิจกรรม วช.










        วช. รวมกับจังหวัดชุมพร นําเทคโนโลยีโดรนแปรอักษรพัฒนา  และตอยอ
        วช. รวมกับจังหวัดชุมพร นําเทคโนโลยีโดรนแปรอักษรพัฒนา  และตอยอ
        วช. รวมกับจังหวัดชุมพร นําเทคโนโลยีโดรนแปรอักษรพัฒนา  และตอยอดสูธุรกิจการทองเที่ยวดสูธุรกิจการทองเที่ยวดสูธุรกิจการทองเที่ยวดสูธุรกิจการทองเที่ยว
        วช. รวมกับจังหวัดชุมพร นําเทคโนโลยีโดรนแปรอักษรพัฒนา  และตอยอ
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ จังหวัดชุมพร พรอมดวยสมาคม
       กีฬาเครื่องบินจําลองและวิทยุบังคับ จัดกิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม “เทคโนโลยีโดรนแปรอักษรเพื่อประยุกตสู
       การใชงาน” ภาคใต ระหวางวันที่ 5 – 7 มิถุนายน 2566 โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธี
       เปดกิจกรรม ณ เทศบาลเมืองชุมพร นายวิสาห พูลศิริรัตน ผูวาราชการจังหวัดชุมพร และผูบริหารหนวยงานในจังหวัดชุมพร ใหการตอนรับ
              ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กลาวเปดกิจกรรมฯ วา วช. มีนโยบายที่มุงสงเสริม และสนับสนุนการ
       พัฒนาดานการศึกษา การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหเกิดการสรางนวัตกรรมสิ่งประดิษฐใหม ๆ เพื่อใหเกิดนวัตกรรมที่หลากหลาย
       และเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับโดรนของไทย นับไดวาประสบผลสําเร็จในการพัฒนาซอฟตแวร
       ในการสั่งงานโดรนเพื่อแปรอักษร และสามารถตอยอดในการใชประโยชนสําหรับผูประกอบการในดานการทองเที่ยว ภาคการเกษตรในพื้นที่สูง
       และการใชโดรนในการบรรเทาสาธารณภัย กลาวไดวาเปน “โดรนแปรอักษรและเทคโนโลยีโดรนเพื่อการขยายผล” เปนโอกาสที่ดีใหกับ
       การทํางานในหลายภาคสวน
              ทั้งนี้ ในชวงคํ่าสมาคมกีฬาเครื่องบินจําลองและวิทยุบังคับ พรอมคณะเยาวชนที่เขารวมการอบรมโดรนแปรอักษร ไดนําการออกแบบ
       ซอฟตแวรมาจัดการแสดงเพื่อบินโดรนแปรอักษรในรูปตาง ๆ ณ เหนือทองฟาจังหวัดชุมพร โดยใชการแสดงโดรนมากกวา 200 ลํา การแสดง
       ดังกลาวไดสรางความตื่นตา ตื่นใจ และประทับใหกับประชาชนในจังห
       ดังกลาวไดสรางความตื่นตา ตื่นใจ และประทับใหกับประชาชนในจังหวัดชุมพรนับพันคนที่มารวมรับชมเปนอยางยิ่ง วัดชุมพรนับพันคนที่มารวมรับชมเปนอยางยิ่ง วัดชุมพรนับพันคนที่มารวมรับชมเปนอยางยิ่ง วัดชุมพรนับพันคนที่มารวมรับชมเปนอยางยิ่ง
       ดังกลาวไดสรางความตื่นตา ตื่นใจ และประทับใหกับประชาชนในจังห
       ดังกลาวไดสรางความตื่นตา ตื่นใจ และประทับใหกับประชาชนในจังห
                                                         วช. รวมกับ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
                                      แถลงขาวการจัดงาน “มหกรรมงานวิจัยส‹วนภูมิภาค 2566 ครั้งที่ 12”
                                      แถลงขาวการจัดงาน
                                      แถลงขาวการจัดงาน
                                           สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ มหาวิทยาลัย
                                    วลัยลักษณ และจังหวัดนครศรีธรรมราช พรอมดวยหนวยงานเครือขายในระบบวิจัยภาคใต จัดงานแถลงขาวการจัดงาน
                                    “มหกรรมงานวิจัยสวนภูมิภาค ประจําป 2566 (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12” ภายใตแนวคิด “วิจัย
                                    นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืน ภาคใตโมเดล” ซึ่งมีกําหนดจัดขึ้นระหวางวันที่ 28 – 30 มิถุนายน 2566
                                    ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                                    เปนประธาน และ ศาสตราจารย ดร.สมบัติ ธํารงธัญวงศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พรอมกับนายสมพงษ มากมณี
                                    รองผูวาราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช รวมแถลงขาวการจัดงานดังกลาว เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2566 ณ โรงพยาบาล
                                    ศูนยการแพทย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
                                           ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กลาววา “มหกรรมงานวิจัยสวนภูมิภาค ประจําป 2566
                                    (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12” ในครั้งนี้ ไดรับเกียรติจากทาน ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน
                                    รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม มาเปนประธานเปดงานดังกลาว ซึ่งงานมหกรรม
                                    งานวิจัยสวนภูมิภาคไดจัดขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2556 – ถึงปจจุบัน โดยมีมหาวิทยาลัยในแตละภูมิภาคเปนเจาภาพหลักในการ
                                    จัดงาน ภายใตการสนับสนุนของ วช. ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้   มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการขยายขอบเขตของการใชประโยชน
                                    จากงานวิจัยในภาคใต จึงไดกําหนดใหมีการจัดงานนําเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมขึ้น เพื่อเปนกลไกขับเคลื่อนงานวิจัย
                                    และนวัตกรรมในการพัฒนาทองถิ่นภาคใต โดยใชการวิจัยพัฒนาเชิงพื้นที่และสรางเศรษฐกิจภูมิภาคบริหารจัดการตนเองได
                                    อยางยั่งยืนและตอเนื่อง สูอนาคตตอไป





                           วช. นํางานวิจัยและนวัตกรรม ยกระดับภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคเหนือ

              ส ส ส ส ส
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) สงมอบเครื่องผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด กลาพันธุแอสเตอรํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) สงมอบเครื่องผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด กลาพันธุแอสเตอรํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) สงมอบเครื่องผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด กลาพันธุแอสเตอรํานักงานการวิจัยแ
       ปลอดเชื้อ และชุดเรงการผลิตปุยหมักคุณภาพสูง แกวิสาหกิจชุมชนไมดอกเหมืองแกว ตําบลเหมืองแกว อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม พรอมถายทอดเทคโนโลยีจากงาน
       วิจัยในการผลิตปุย และการพัฒนาปจจัยการยกระดับพัฒนาปจจัยการยกระดับศักยภาพการผลิตไมดอกกลุมแอสเตอร ใหแกเครือขายกลุมเกษตร และลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
       โครงการรอยใจรักษ จังหวัดเชียงราย - เชียงใหม ระหวางวันที่ 9 - 10 มิถุนายน 2566 โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธาน
              ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กลาววา วช. รวมกับ วว. สงเสริมและผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากสูการใชประโยชน
       ภายใตโครงการการยกระดับการปลูกเลี้ยงพืชกลุมแอสเตอรดวยนวัตกรรมการขยายพันธุพืชปลอดโรคเชิงพาณิชย ในพื้นที่ตําบลเหมืองแกว อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม
       กอใหเกิดวิสาหกิจชุมชนขนาดยอม สรางอาชีพใหมในชุมชนและทองถิ่น ชุมชนเกิดกระบวนการพัฒนาและตอยอดกลุมวิสาหกิจอยางเปนรูปธรรม เกิดระบบการบริหาร
       จัดการทรัพยากรอยางยั่งยืน เกษตรกรหรือชุมชนประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปลูกพืช ผานนวัตกรรมที่สามารถตอยอดได อีกทั้งเกิดความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ
       ของชุมชนในพื้นที่สามารถพัฒนาใหมีรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนสูงขึ้น
              นอกจากนี้ ดร.วิภารัตนฯ และคณะผูทรงคุณวุฒิ วช. ไดลงตรวจเยี่ยมพื้นที่การดําเนินงานโครงการรอยใจรักษ จังหวัดเชียงราย - เชียงใหม ซึ่งไดมีการนํา
       เทคโนโลยีโดรนระบบอัตโนมัติขับเคลื่อนระยะไกล ไปประยุกตใชในงานดานการพัฒนาการเกษตรในพื้นที่สูงแบบยั่งยืน (โดรนเกษตร 4G ระบบอัตโนมัติ หรือ อากาศยาน
       ไรคนขับ) ซึ่งเปนโครงการที่ วช. ใหการสนับสนุน เพื่อนําเทคโนโลยีโดรนระบบอัตโนมัติไปประยุกตใชงานในการพัฒนาพื้นที่สูง
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16