Page 13 - จดหมายข่าว วช 148
P. 13

กิจกรรม วช.




                   วช. และ CASS ร‹วมกันจัด Think Tank Forum ครั้งที่ 3
        ระดมนักวิจัย นักวิชาการดานจีนศึกษา รวมการประชุม ณ กรุงปกกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน








               เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2566 ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน   “Air Pollution and Health Effect” โดย ศาสตราจารย ดร.พีระพงศ ทีฆสกุล
        รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม  ผูอํานวยการศูนยวิจัยมลพิษทางอากาศและผลกระทบตอสุขภาพ มหาวิทยาลัย
        นําคณะผูบริหาร อว. พรอมดวย ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล  สงขลานครินทร นําเสนอเกี่ยวกับการใช รูปแบบเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ
        ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม, ดร.วิภารัตน ดีออง  หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio – Circular – Green Model) แกไขปญหา
        ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชุมพล เสมาขันธ  มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาปาหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร
        อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, รองศาสตราจารย ดร.โฆษิต ศรีภูธร  ไฟปา การถางที่ดิน การเติบโตของเมือง จํานวนยานพาหนะที่เพิ่มขึ้น ซึ่งฝุนพิษ
        อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน และ พลตํารวจโท พรชัย  ที่เกิดขึ้นนั้นสงผลตอ สุขภาพในทุกระดับเปนอยางมาก โดยเฉพาะทางเดินหายใจ
        สุธีรคุณ ผูอํานวยการสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ พรอมดวยคณะนักวิจัยไทย  อาทิ โรคปอดเรื้อรัง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหอบ โรคหืด เปนตน
        เขารวมการประชุมเชิงวิชาการ Think Tank Forum ครั้งที่ 3 (The 3  Think   “The Importance of Chinese Technology to Thai Tourism” โดย
                                                     rd
        Tank Forum) ณ กรุงปกกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ภายใตหัวขอ “Ten Years  นายชยาภัทร วารีนิล นักวิจัยสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
        of the Belt and Road: China-Thailand Partnership for Sustainable  นําเสนอเกี่ยวกับ การพัฒนาการทองเที่ยวดวยเทคโนโลยีของจีน อาทิ เทคโนโลยี
        Development” โดยมีสถาบันสังคมศาสตรจีน (Chinese Academy of Social  การขนสง ธนาคารบนมือถือและแอป พลิเคชัน การพัฒนาผังเมือง การใชเทคโนโลยี
        Sciences: CASS) เปนเจาภาพจัดการประชุม และ Professor Gao Xiang  ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งไทยควรเรียนรู และนํามาประยุกตใชพัฒนาการ
        ประธานสถาบันสังคมศาสตรจีน เปนประธานกลาวเปดการประชุมฯ และ  ทองเที่ยวไทย ซึ่งจะกอใหเกิดการจัดการระบบการทองเที่ยว ที่มีประสิทธิภาพ การใช
        ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รวมปาฐกถาพิเศษในหัวขอเรื่อง  พลังงานสะอาดในการขับเคลื่อนธุรกิจทองเที่ยวและลดตนทุน การเกิดขึ้น ของธุรกิจ
        “ความสัมพันธไทย-จีนกับการขับเคลื่อนประเทศดวยวิทยาศาสตร วิจัยและ ทองเที่ยวรูปแบบใหม และการพัฒนาอยางยั่งยืนของการทองเที่ยวระหวางประเทศ
        นวัตกรรม” โดยนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญสูงไดรวมอภิปรายในหัวขอ 3 session   “Thailand 4.0 – China 5.0: Some Observations on Thailand-China
        ไดแก 1) การแกปญหาความยากจนและประกันสังคม 2) ความเชื่อมโยงระหวาง Scientific and Technological Exchanges and Collaboration” โดย ดร.อารม
        กันและการพัฒนาที่ยั่งยืน และ 3) ความรวมมือดานเทคโนโลยี วิทยาศาสตรและ ตั้งนิรันดร ผูอํานวยการศูนยจีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
        นวัตกรรมไทย-จีน                                      นําเสนอเกี่ยวกับภาพรวม ความสําเร็จ และขอจํากัดของนโยบายประเทศไทย 4.0
               โดยสรุปประเด็นสําคัญได ดังนี้                (Digital Thailand) และประเทศจีน 5.0 (China 5.0) ซึ่งความสําเร็จของประเทศไทย
               “A Study of Poverty Alleviation Policy: A Comparative Study  4.0 เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (Digital transformation) ไดรับการ
        between Thailand and China” โดย ดร.ภูมิพัฒณ พงศพฤฒิกุล ผูเชี่ยวชาญพิเศษ พิจารณาเปนวาระระดับชาติ การลงทุนบนโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลอยางตอเนื่อง
        ดานสายงานวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต  และการมา ของโรค COVID-19 ในขณะที่ประเทศจีน 5.0 คือ การที่ประเทศจีน
        นําเสนอเกี่ยวกับนโยบายการแกไขปญหาความยากจนของไทยและจีน โดยการ มีจุดแข็งและความกาวหนา ดานการวิเคราะหและการประยุกตใชประโยชนจาก
        ฉายภาพความสําเร็จของนโยบายการแกไขปญหาความยากจนของจีนเปรียบเทียบ ฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) อาทิ Smart City ซึ่งมีการนําเอาเทคโนโลยีไปใช
        กับนโยบายแกไขปญหาความยากจนของไทย ซึ่งจีนสามารถขจัดความยากจน แกปญหาจราจร การบังคับใชกฎหมาย รวมถึงอาชญากรรม และ Smart Government
        ไดอยางเบ็ดเสร็จ มีจํานวนคนยากจนเทากับศูนยในชวงเดือนพฤศจิกายน 2563  ซึ่งการติดตอราชการ การจายคานํ้า/ไฟ สามารถทําไดอยางสะดวกสบาย
        โดยมีปจจัยที่สงผลใหเกิดความสําเร็จ อยูดวยกัน 4 ปจจัย ประกอบดวย นโยบาย  พรอมนี้ยังมีนักวิจัยเชี่ยวชาญจากประเทศจีนรวมนําเสนอในหัวขอสําคัญ
        จากผูนํามีความจริงจัง มาตรการมีความเฉพาะเจาะจง(Targeted Poverty  ตาง ๆ ดังนี้
        Eradication: TPE) การสนับสนุนใหพึ่งตนเองในระยะยาว และ ใชวิทยาศาสตร   - “China’s Experience in International Poverty Alleviation”
        นวัตกรรม และเทคโนโลยี                                โดย Mr. Han Keqing
               “A Table of Two Nations: Poverty and Social Protection Policies”   - “Chinese Exploration of Rural Poverty Reduction and
        โดย ดร.สมชัย จิตสุชน ผูอํานวยการวิจัยดานการพัฒนาอยางทั่วถึง สถาบันวิจัย Revitalization in Context of Sustainable Development” โดย Mr. Luo Jing
        เพื่อการพัฒนาประเทศไทย นําเสนอเกี่ยวกับความเหมือนและความตางของ  - “Policy Framework of China’s Carbon Peaking and Carbon
        นโยบายลดความยากจนของจีนและไทย ดวยการเปรียบเทียบ สวนที่เหมือนและ Neutrality Goals” โดย Mr. Chen Ying
        ตางกันของนโยบายฯ เชน นโยบายความเหลื่อมลํ้า ประสิทธิภาพของภาครัฐ   - “China’s Carbon Peaking and Carbon Neutrality Target and
        การกระจายอํานาจ การคุมครองทางสังคม การพัฒนาชนบท การกระตุนการจางงาน  Global Climate Change Governance โดย Mr. Yu Xiang
        การคุมครอง แรงงาน การพัฒนาอุตสาหกรรมและภาคบริการ ความคุมครองทางสังคม   - “Regional Economic Development in China and the Practice
        การแกปญหาความยากจน แบบมุงเปาในระดับพื้นที่ ชุมชน และระดับครัวเรือน  of Guangdong-Hong Kong-Macao Greater Bay Area” โดย Mr. Liu Jiajun
        เปนตน เพื่อนําไปสูการถอดบทเรียน ที่เปนประโยชนตอไป     - “Technological Innovation in the Guangdong-Hong Kong-Macao
               “Research Collaboration on Climate Change between Thailand  Greater Bay Area – Situation, Characteristics and Experience” โดย
        and China: Key Findings, Outputs and Ways Forwards” โดย รองศาสตราจารย  Mr. Deng Zhou
        ดร.อํานาจ ชิดไธสง รองผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและ  ทั้งนี้ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในฐานะหนวยงานของรัฐที่มีพันธกิจ
        สิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี นําเสนอเกี่ยวกับความ ใหทุนวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรดานวิจัย
        รวมมือไทย-จีน ประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ อาทิ การวิจัยรวม  และนวัตกรรมทั้งในและนอกประเทศ คาดหวังเปนอยางยิ่งวาการประชุมเชิงวิชาการ
        การสัมมนารวม และการประชุมรวม ซึ่งไทยไดประโยชนจากความรวมมือ ดังกลาวจะเปนเวทีเชื่อมโยงเครือขายนักวิจัย เพื่อใหเกิดการสรางความรวมมือ
        ดังกลาวหลายดาน อาทิ ดานระบบมรสุม ดานการทดลองการเปลี่ยนแปลงของ เชิงวิชาการ และสงผลกระทบถึงประเทศชาติดานการวิจัยและนวัตกรรมตอไป
        สภาพภูมิอากาศ ดานการเปลี่ยนแปลง การใชประโยชนที่ดิน ดานการใชเทคโนโลยี
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16