Page 9 - จดหมายข่าว วช 148
P. 9

นวัตกรรม : เพ� อสิ่งแวดลอม


                                                 ระบบเฝ‡าระวังไฟป†าอัจฉริยะ  “จมูกรับกลิ่นควันไฟ”ระบบเฝ‡าระวังไฟป†าอัจฉริยะ  ระบบเฝ‡าระวังไฟป†าอัจฉริยะ

                                                 ดŒวย  IoT  ช‹วยลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป†า













                สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
         วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดŒใหŒการส‹งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม
         การวิจัยและนวัตกรรม โครงการ “การพัฒนาและถ‹ายทอดองคความรูŒระบบ
         เฝ‡าระวังไฟป†าอัจฉริยะ” โดยมี รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ
         และคณะ แห‹ง มหาวิทยาลัยศิลปากร ดําเนินโครงการดังกล‹าว
                                                              Disasters in Rural Communities in Thailand and Southeast
                                                              Asia) และโครงการ SEA-HAZEMON@TEIN โดยติดตามคุณภาพอากาศ
                 รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ แหง มหาวิทยาลัย  ในประเทศไทย ลาว ฟลิปปนส และอินโดนิเชีย ปจจุบันมีการติดตั้งโหนด
          ศิลปากร หัวหนาโครงการวิจัย ไดกลาวถึงที่มาและการดําเนินโครงการฯ วา  เซ็นเซอรไปแลวประมาณ 100 แหง ซึ่งการทํางานของโหนดเซ็นเซอรทั้งหมด
          จากปญหาไฟปาในปจจุบันไดสงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ  ของทุกโครงการจะสามารถบูรณาการขอมูลกันไดผานระบบสารสนเทศ
          สุขภาพของประชาชน การใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตประสานสรรพสิ่ง  ภูมิศาสตรในแพลตฟอรม CANARIN ซึ่งการบูรณาการครั้งนี้จะทําใหสามารถ
          (Internet of Things : IoT) และเซ็นเซอรวัดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม  วิเคราะหขอมูลการเกิดไฟปาไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีหลายปจจัย
          เพื่อพัฒนาระบบขอมูลมหัต (Big data) รวมกับเทคนิคเหมืองขอมูลในการ  ที่ทําใหไฟปาลุกลามเปนบริเวณกวาง รวมถึงการเกิดไฟปาในประเทศเพื่อนบาน
          วิเคราะหและสรางแบบจําลองของการเกิดไฟปา รวมถึงความเสี่ยงในการ  จากความสําเร็จของโครงการดังกลาว คณะนักวิจัยไดถายทอด
          เกิดไฟปา และสามารถเตือนภัยการเกิดไฟปาไดจริง ดังนั้น คณะนักวิจัยจึงได  องคความรูในการใชและบํารุงรักษาระบบแกบุคลากรของสถานีควบคุม
          จัดทําโครงการ “การพัฒนาและถายทอดองคความรูระบบเฝาระวังไฟปา  ไฟปา ตลอดจนชุมชนโดยรอบ เพื่อใหมีสวนรวมในการเฝาระวังไฟปาและ
          อัจฉริยะ” ซึ่งไดรับการสนับสนุนทุนจาก วช. ภายใตโครงการจัดการความรู  การอนุรักษทรัพยากรปาไม โดยใชการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อถายทอด
          การวิจัยเพื่อการใชประโยชนเชิงความมั่นคง ในการดําเนินงานคณะผูวิจัย  ความรูใหผูเกี่ยวของ อบรมการใชระบบเฝาระวังไฟปาอัจฉริยะ และจัดทํา
          ไดศึกษาสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศในพื้นที่วิจัย เพื่อทําการติดตั้ง  สื่อการสอนดิจิทัล (e-Learning) ทั้งนี้ ระหวางการดําเนินงานของคณะนัก
          ตนแบบการเฝาระวังการเกิดไฟปาบริเวณแนวกันไฟ ซึ่งเปรียบเสมือน “จมูก”  วิจัยไดรับความรวมมือเปนอยางดี จากชุมชนดอยชางปาแป อําเภอบานโฮง
          ในการรับกลิ่นควันไฟกอนจะเกิดไฟไหมปาในวงกวาง โดยทําการติดตั้ง  จังหวัดลําพูน, สถานีควบคุมไฟปาบานโฮง - ลําพูน, สถานีควบคุมไฟปาผา
          โหนดเซ็นเซอรพรอมระบบพลังงานแสงอาทิตย จํานวน 9 ชุด ดวยเทคโนโลยี  เมือง - ลําพูน, สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 16 (เชียงใหม) และสํานักงาน
          อินเทอรเน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) จากแพลตฟอรม CANARIN และ  ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลําพูน ซึ่งความสําเร็จของงานวิจัยนี้
          เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G/4G เพื่อรับ - สงขอมูลจากอุปกรณไปยัง  ยังสามารถนําไปขยายผลในพื้นที่ปาอื่น ๆ ไดอีกดวย
          ศูนยเฝาระวังไฟปาซึ่งเปนระบบ Cloud ที่สามารถใหชุมชนและเจาหนาที่  โดยเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2566 วช. โดย ดร.วิภารัตน ดีออง
          จากสถานีควบคุมไฟปาสามารถวิเคราะหสถานการณที่เกิดขึ้นไดตลอดเวลา  ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายใหกลุมสารนิเทศและ
          โดยใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและแสดงผลในแผนที่บนแพลตฟอรม  ประชาสัมพันธ นําคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมชมผลสําเร็จของกิจกรรม
          CANARIN อีกทั้งพัฒนาแบบจําลองที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ที่ทําการ  สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม โครงการ “การพัฒนาและ
          วิจัย ตลอดจนปจจัยที่เกี่ยวของกับการเฝาระวังไฟปา และมีการพัฒนาในสวน  ถายทอดองคความรูระบบเฝาระวังไฟปาอัจฉริยะ” โดยมี รองศาสตราจารย
          การแจงเตือนไปยังผูที่เกี่ยวของและชุมชน เพื่อที่จะไดทําการดับไฟไดอยาง  ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ และคณะ แหง มหาวิทยาลัยศิลปากร ใหการตอนรับ
          ทันทวงที โดยใชแอปพลิเคชันไลนบนโทรศัพทเคลื่อนที่และทางอินเทอรเน็ต  พรอมไดบรรยายถึงความสําเร็จของโครงการดังกลาว ณ ชุมชนดอยชางปาแป
                 นอกจากนี้ ยังไดบูรณาการและสรางเครือขายในการเฝาระวัง  ตําบลปาพลู อําเภอบานโฮง และสถานีควบคุมไฟปาแมปง อุทยานแหงชาติ
          ไฟปากับโครงการวิจัยอื่นที่เกี่ยวของ อาทิ โครงการ STIC-ASIA: SEA-  แมปง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน โดยในการลงพื้นที่เยี่ยมชมความสําเร็จของ
          HAZEMON (Low-cost Real-time Monitoring of Haze Air Quality  โครงการในครั้งนี้ ไดรับเกียรติจากผูนําชุมชนในพื้นที่ ไดแก คุณบัญชา มุแฮ
                                                              จากชุมชนกะเหรี่ยงดอยชางปาแป คุณภัทรไพบูลย เรือนสอน ประธาน
                                                              วิสาหกิจชุมชนกลุมกาแฟอราบิกาจังหวัดลําพูน  และคุณวิสาทภรณ
                                                              วาจาหวาน หัวหนาชุดดับไฟปา สถานีควบคุมไฟปาแมปง ไดกลาวถึงการ
                                                              นําองคความรูที่ไดรับจากการนํางานวิจัยระบบเฝาระวังไฟปาอัจฉริยะ
                                                              ไปใชวา งานวิจัยนี้ถือเปนประโยชนอยางยิ่งตอสวนรวม ทําใหสามารถระบุ
                                                              พิกัดการเกิดไฟปาไดอยางแมนยํา ชวยใหการควบคุมไฟปามีรวดเร็วและ
                                                              ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยหวังเปนอยางยิ่งวาโครงการนี้จะไดรับการ
                                                              ตอยอดใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก และสามารถขยายผลในพื้นที่ที่มี
                                                              ปญหาเชนเดียวกันนี้ตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14