Page 8 - จดหมายข่าว วช 148
P. 8
งานวิจัย : สิ่งแวดลอม
งานวิจัย : สิ่งแวดลอม
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจนจากวัตถุดิบกาซชีวภาพจากบอขยะชุมชน
เพื่อผลิตพลังงานสะอาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ส ส
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ใหการ
สนับสนุนทุนวิจัยแกคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาธนบุรี โดยมี ศาสตราจารย ดร.นวดล เหลาศิริพจน
เปนหัวหนาโครงการวิจัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจน
จากวัตถุดิบกาซชีวภาพจากบอขยะในชุมชนโดยผานกระบวนการ
เคมีความรอนหลายกระบวนการ ซึ่งสามารถนําไปใชเปนแหลง
พลังงานขนาดเล็กในชุมชนอยางไมมีขอจํากัดในการกักเก็บ
ศาสตราจารย
ศาสตราจารย ดร.นวดล เหลาศิริพจน หัวหนาโครงการวิจัยดร.นวดล เหลาศิริพจน หัวหนาโครงการวิจัยดร.นวดล เหลาศิริพจน หัวหนาโครงการวิจัย
พลังงาน และนําออกมาใชเมื่อมีความตองการใชไฟฟาโดยผานหอเซลล ศาสตราจารย
เชื้อเพลิง และมีการทดสอบกระบวนการผลิตไฮโดรเจน ออกแบบและพัฒนา กลาวถึงโครงการวิจัยวา โครงการนี้ มจธ. ไดรับการสนับสนุนทุนจาก วช.
ระบบการผลิต เพิ่มความบริสุทธิ์และกักเก็บไฮโดรเจนโดยใชวัตถุดิบกาซชีวภาพ โดยมีเปาหมายเพื่อผลิตกาซไฮโดรเจนจากกาซชีวภาพเพื่อเปนการเพิ่ม
จากบอขยะใหมีประสิทธิภาพสูงสุด จากนั้นทําการทดสอบความนาเชื่อถือ มูลคาและสรางทางเลือกใหกับกาซชีวภาพจากบอขยะของประเทศไทย
ในการผลิตไฮโดรเจนโดยใชวัตถุดิบกาซชีวภาพมีเทนจากบอขยะ (โดยทําการ โดยกาซไฮโดรเจนที่ไดสามารถนําไปใชรวมกับเซลลเชื้อเพลิงเพื่อ
ทดสอบระบบแบบตอเนื่องเปนระยะเวลาอยางนอย 50 ชั่วโมง ที่กําลังการผลิต ผลิตกระแสไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
20 ลิตรตอนาที) รวมถึงสรางความพรอมใหกับบุคลากรใหมีความรูและเขาใจ ซึ่งขั้นตอนกระบวนการผลิตหลัก ๆ จะประกอบไปดวยการทําความสะอาด
ในกระบวนการผลิตไฮโดรเจนไปจนถึงการใชงาน กาซชีวภาพเพื่อกําจัดสิ่งปฏิกูลจําพวกซัลเฟอรและคารบอนไดออกไซด
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ บางสวนออก จากนั้นนํากาซที่ไดจากกระบวนการบําบัดไปเขาสูเครื่อง
กลาวถึงความสําคัญที่ วช. ไดใหการสนับสนุนทุนวิจัยแกโครงการวิจัย ปฏิกรณหลักเพื่อผลิตไฮโดรเจน โดยภายในจะทําการบรรจุตัวเรงปฏิกิริยา
ดังกลาววา เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมที่เปน ที่มีศักยภาพในการแตกสลาย Volatile Organic Compounds (VOCs)
ประโยชนตอประชาชนและสังคม เสริมสรางคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม การแปรสภาพมีเทนและคารบอนไดออกไซดไปเปนไฮโดรเจน และการ
รวมถึงการสนับสนุนดานอุตสาหกรรม หรือ ภาคการผลิตตาง ๆ โดยเฉพาะ กําจัดคารบอนมอนอกไซดเพื่อเพิ่มปริมาณไฮโดรเจนในผลิตภัณฑ
การสงเสริมในการหาแหลงพลังทดแทนเพื่อใชในการผลิตกระแสไฟฟา ประโยชนที่ไดรับจากโครงการวิจัยนี้ คือ ทําใหสามารถเพิ่ม
ซึ่งผลงานจากคณะนักวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มูลคาและทางเลือกในการใชกาซชีวภาพจากบอขยะเพื่อผลิตพลังงาน
(มจธ.) ในการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและตนแบบสําหรับการ สะอาดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมรองรับนโยบายการปลดปลอยกาซเรือน
ทําความสะอาดกาซชีวภาพและการผลิตไฮโดรเจนจากกาซชีวภาพ กระจกเปนศูนย (Net Zero GHG Emission) ของประเทศ โดยจะมีการ
ที่มีแหลงที่มาจากบอขยะในชุมชน มาผานกระบวนการเพื่อนําไปใชในการ ขยายผลพัฒนาตอยอดสรางความรวมมือกับการไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.)
ผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งนอกจากเปนการเสริมสรางศักยภาพแหลงพลังงาน ในการนําระบบผลิตไฮโดรเจนดังกลาวไปใชรวมกับเซลลเชื้อเพลิงเพื่อ
ในชุมชนแลว ยังเปนการเสริมสรางคุณภาพที่ดีดานสิ่งแวดลอมจาก ผลิตกระแสไฟฟาตอไป
พลังงานชีวภาพอีกดวย
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
8 National Research Council of Thailand (NRCT)