Page 11 - จดหมายข่าว วช 148
P. 11
กิจกรรม วช.
กิจกรรม วช.
กิจกรรม วช.
รมว.อว. นําวิจัยและนวัตกรรมเชื่อมสัมพันธไทย-จีน
ในการประชุม Think Tank Forum ครั้งที่ 3 ณ กรุงปกกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ปาฐกถาพิเศษ
เรื่อง “ความสัมพันธไทย-จีน กับการขับเคลื่อนประเทศดวยวิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม” ในพิธีเปดการประชุม Think Tank Forum ครั้งที่ 3
(The 3 Think Tank Forum) ภายใตหัวขอ “Ten Years of the Belt and
rd
Road: China Thailand Partnership for Sustainable Development” แกปญหาความยากจนและขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหเติบโตอยางยั่งยืนดวยการ
โดยมี Professor Gao Xiang ประธานสถาบันสังคมศาสตรจีน (Chinese ใชเทคโนโลยีสรางความเขมแข็งภายใน สรางความอยูดีกินดีใหกับประชาชน
Academy of Social Sciences: CASS) กลาวตอนรับพรอมเปดการ และสรางความยิ่งใหญออกไปสูภายนอกจนเปนที่ยอมรับบนเวทีโลก
ประชุม โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง ความสําเร็จของจีนไดแสดงใหโลกไดเห็นถึงศักยภาพของพัฒนาการที่
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และ ดร.วิภารัตน ดีออง โดดเดนทุกดาน ซึ่งนโยบายดานการวิจัยและนวัตกรรมของไทยใหความสําคัญ
ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชุมพล กับสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตร ทัดเทียมกับวิทยาศาสตร
เสมาขันธ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม รองศาสตราจารย และเทคโนโลยี เพราะสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตรเปน
ดร.โฆษิต ศรีภูธร อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พลตํารวจโท รากฐานอันสําคัญของความเปนอยูของประชาชน และมีความเกี่ยวพันอยู
พรชัย สุธีรคุณ ผูอํานวยการสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และคณะนักวิจัย ในทุก ๆ มิติของการพัฒนาประเทศ อีกทั้งประเทศไทยยังใหความสําคัญกับ
ผูเชี่ยวชาญจากประเทศไทยเขารวมการประชุมฯ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2566 การสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคและเศรษฐกิจนวัตกรรมเทคโนโลยี มีการ
ณ กรุงปกกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน พัฒนาระบบเศรษฐกิจโดยใชความคิดบนฐานความรู ทรัพยสินทางปญญา
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนกฯ ชูประเด็นเรื่อง “ความสัมพันธ และฐานการวิจัยบนความเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและพื้นฐานทางประวัติศาสตร
ไทย-จีน กับการขับเคลื่อนประเทศดวยวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในฐานะ
วา ความสัมพันธระหวางไทยและจีนที่มีมาอยางยาวนานกวา 40 ป มีความ หนวยงานหลักดานการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีอํานาจหนาที่สงเสริม
เชื่อมโยงกันในเรื่องของการพัฒนาหลายมิติ นับตั้งแตจีน โดยประธานาธิบดี สนับสนุน และสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาประเทศใหเทาทันกับการ
สี จิ้นผิง ริเริ่มการเชื่อมจีน เอเชีย ยุโรป และแอฟริกาเขาดวยกัน ผานการ เปลี่ยนแปลงของโลก เห็นวาการจะพัฒนาประเทศตามแนวคิด กระบวนการ
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและกรอบความรวมมือตาง ๆ เพื่อเปนเสนทาง รวมถึงวิธีการที่กลาวมาขางตนจําเปนตองอาศัยความรวมมือเชิงยุทธศาสตร
ลําเลียงทรัพยากร วัตถุดิบ และสินคา รวมถึงการเชื่อมโยงเศรษฐกิจเขาดวยกัน ระหวางสถาบันสังคมศาสตรจีน (Chinese Academy of Social Sciences:
ที่เรียกวา “หนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง” ซึ่งการริเริ่มดังกลาวสอดคลองกับนโยบาย CASS) และสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) เพื่อรวมกันสงเสริม เชื่อมโยง
ของไทยในยุทธศาสตร 20 ป และแผนพัฒนา Thailand 4.0 รวมถึงการ และผลักดันใหเกิดผลงานวิจัย นวัตกรรมทางสังคมที่นําไปใชในการพัฒนา
พัฒนาที่มุงเนนเรื่องของเศรษฐกิจ BCG ทําใหยุทธศาสตรการพัฒนาชาติและ ประเทศได
แนวคิดดานนโยบายทั้งสองประเทศมีความเชื่อมโยงกันอยางรอบดาน นํามา “การประชุมเชิงวิชาการ Think Tank Forum ครั้งที่ 3 นี้ จะเปน
ซึ่งความรวมมือไทย-จีนหลายดาน โดยเฉพาะดานการพัฒนาสาธารณูปโภค สวนหนึ่งของการขับเคลื่อนอนาคตรวมกันของทั้งสองประเทศ และสะทอน
ขั้นพื้นฐาน การพัฒนาความเชื่อมโยงดานขอมูลและดิจิทัล การยกระดับ เดนชัดถึงนโยบายการพัฒนาประเทศภายใตแนวความคิด “หนึ่งแถบหนึ่ง
ภาคการผลิตที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตลอดจน เสนทาง” ตอไป” ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนกฯ กลาว
การสงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม (S-Curves) อาทิ การพัฒนาความเชื่อมโยง ทั้งนี้ สถาบันสังคมศาสตรจีน (Chinese Academy of Social
ไทย-ลาว-จีน การพัฒนาของอนุภูมิภาคระหวางเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก Sciences: CASS) และสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดมีความรวมมือ
(Eastern Economic Corridor: EEC) ของไทยกับกรอบความรวมมือเขต ทางวิชาการตอเนื่องมามากแลวกวา 23 ป โดยไดจัดกิจกรรมสงเสริมการ
อาวกวางตุง-ฮองกง-มาเกา (Guangdong - Hong Kong - Macao Greater วิจัยในประเด็นสําคัญและเปนขอเสนอเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
Bay Area: GBA) และเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแมนํ้าแยงซี (Yangtze โดยมีผูบริหารนําวิจัยและนวัตกรรมจากจีนและไทยเขารวมการประชุมอยาง
River Delta: YRD) ของจีน รวมถึงโครงการความรวมมือดานอุตสาหกรรม ตอเนื่องตลอดทุกป พรอมกันนี้ไดมีการแลกเปลี่ยนนักวิจัยและเสนอประเด็น
ศักยภาพสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งยานยนตไฟฟา เพื่อจัดทําการศึกษารวมกัน พรอมกับกิจกรรมความรวมมือมาโดยลําดับ
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนกฯ กลาวตอวา จีนเปนแบบอยาง และในป พ.ศ. 2566 นี้ จะไดเกิดความรวมมือสําคัญระหวางสํานักงาน
ที่ดีในการแกไขปญหาความยากจน ซึ่งแนวคิดกระบวนการ และวิธีการ การวิจัยแหงชาติและสถาบันสังคมศาสตรจีน (Chinese Academy of
แกไขปญหาความยากจนของจีนกําลังเปนที่สนใจในการศึกษาเพื่อนําไป Social Sciences: CASS) ในการรวมจัดตั้ง “ศูนยวิจัยจีน สํานักงานการวิจัย
ประยุกตใชในประเทศไทยอยางจริงจัง โดยจีนใชเวลาเพียง 40 ป ในการ แหงชาติ สถาบันสังคมศาสตรจีน” ณ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ อีกดวย
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 11