Page 15 - จดหมายข่าว วช 148
P. 15

กิจกรรม วช.              วช. ร‹วมประชุมใหญ‹ Association of Asian Social Science


                                           Research Councils (AASSREC) ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใตŒ





















              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
       ไดมอบหมายให นางสาวสตตกมล เกียรติพานิช ผูอํานวยการกองบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรม 2 และ นางสาวสุกัญญา อามีน ผูอํานวยการภารกิจขับเคลื่อนนโยบาย
       โดยการวิจัย เปนผูแทนเขารวมการประชุมใหญของ Association of Asian Social Science Research Councils (AASSREC) ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 14 – 15 มิถุนายน
       2566 ณ มหาวิทยาลัยยอนเซ (Yonsei University) กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต ซึ่งในปนี้จัดขึ้นเปนครั้งที่ 25 ภายใตหัวขอ “Social Sciences in Asia: Past, Present and
       Future” และครบรอบ 50 ปของการกอตั้ง AASSREC โดยมี Korean Social Science Research Council (KOSSREC) และ National Research Council for Economics,
       Humanities and Social Sciences in Korea (NRC) เปนเจาภาพจัดการประชุม โดยมีผูแทนจากหนวยงานสมาชิกในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก ทั้งหมด 13 หนวยงานจาก
       13 ประเทศเขารวมประชุม และสมาชิกสมทบอีก 1 หนวยงาน
              พิธีเปดการประชุม Prof. Young-Ryeol Park, President of KOSSREC ใหเกียรติเปนประธานกลาวเปดการประชุม และมี Prof. Hae-Gu Jung, Chairperson
       of NRC กลาวตอนรับ หลังจากนั้นเปนการบรรยายพิเศษ (Keynote Speech) จากวิทยากรรับเชิญ 2 ทาน ไดแก Prof. Hyun-Chin Lim, Seoul National University
       ในหัวขอ “Changing Landscape of Post-Pandemic Asia: Globalization, Global Value Chains and Regionalism” และ Mr. Phinith Chanthalangsy, UNESCO
       Bangkok Office ในหัวขอ “The Social and Human Sciences in a World of Rapid Obsolescence” โดยการบรรยายไดใหความสําคัญกับบทบาทของสังคมศาสตร
       ตออนาคตและการกาวไปขางหนาของสังคม
              นอกจากนี้ รองศาสตราจารย ดร.สุนิดา อรุณพิพัฒน และ รองศาสตราจารย ดร.อาชนัน เกาะไพบูลย จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งไดรับทุนสนับสนุน
       การวิจัยและนวัตกรรมจาก วช. เขารวมการนําเสนอ ทางวิชาการในที่ประชุมในหัวขอ “Morality-Money Trap : What Went Wrong with Thai Morals When
       Environmental Protection Policies Were Driven by Financial Incentive Measures” และหัวขอ “The Effect of the COVID-19 Pandemic on Global
       Production Sharing in East Asia”
              ทั้งนี้ ยังมีการประชุม Business Meeting เพื่อใหสมาชิกไดหารือเกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกร และไดมีการเลือกตั้งสภาบริหาร (Executive Council)
       ชุดใหม ซึ่งจะมีวาระการดํารงตําแหนง 2 ป (2566 – 2568) โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงรองประธาน
       ชุดใหม ซึ่งจะมีวาระการดํารงตําแหนง 2 ป (2566 – 2568) โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงรองประธาน
       สภาบริหารของ AASSREC


                             วช. ร‹วมงานกิจกรรม “MeSitthi 2023 The First Collaboration :
                   กŒาวแรกความร‹วมมือ สู‹นวัตกรรมเพื่อสวัสดิการสังคม”  ณ โรงแรมฟูราม‹า จังหวัดเชียงใหม‹

                             สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
                      ว
                      วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นางสาวศิรินทรพร เดียวตระกูล ํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นางสาวศิรินทรพร เดียวตระกูล
                      ส
                     ผูอํานวยการภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ดานการเตรียมรับผูอํานวยการภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ดานการเตรียมรับ
                   สังคมสูงวัย เขารวมงานกิจกรรม “MeSitthi 2023 The First Collaboration สังคมสูงวัย เขารวมงานกิจกรรม สังคมสูงวัย เขารวมงานกิจกรรม สังคมสูงวัย เขารวมงานกิจกรรม
       : กาวแรกความรวมมือ สูนวัตกรรมเพื่อสวัสดิการสังคม” และบรรยายในหัวขอเรื่อง “นโยบายและทิศทาง: กาวแรกความรวมมือ สูนวัตกรรมเพื่อสวัสดิการสังคม” : กาวแรกความรวมมือ สูนวัตกรรมเพื่อสวัสดิการสังคม”
       การวิจัย และพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอรมเพื่อสวัสดิภาพสาธารณะ” เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ณ โรงแรม ฟูรามา จังหวัดเชียงใหม  เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ณ โรงแรม ฟูรามา จังหวัดเชียงใหม
              ผูชวยศาสตราจารย ดร.สันธิวัฒน พิทักษพล ผูอํานวยการสถาบันนวัตกรรมและถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ผูชวยศาสตราจารย ดร.สันธิวัฒน พิทักษพล ผูอํานวยการสถาบันนวัตกรรมและถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ผูชวยศาสตราจารย ดร.สันธิวัฒน พิทักษพล ผูอํานวยการสถาบันนวัตกรรมและถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ผูชวยศาสตราจารย ดร.สันธิวัฒน พิทักษพล ผูอํานวยการสถาบันนวัตกรรมและถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา
       เปนประธานกลาวเปดงาน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวเปนผลจากการดําเนินงานโครงการวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. โครงการวิจัยเปนประธานกลาวเปดงาน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวเปนผลจากการดําเนินงานโครงการวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. โครงการวิจัยเปนประธานกลาวเปดงาน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวเปนผลจากการดําเนินงานโครงการวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. โครงการวิจัย
       เรื่อง “การพัฒนาระบบและกลไกการจัดสวัสดิการสังคมเฉพาะบุคคลในชุมชนทองถิ่นที่ไมทิ้งใครไวขางหลังดวยแพลตฟอรมดิจิทัล
       และเกม “มีสิทธิ” โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฉัตรทิพย  ชัยฉกรรจ แหง มหาวิทยาลัยพะเยา เปนหัวหนาโครงการวิจัย โดยโครงการวิจัย
       ดังกลาวมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อ ตอยอดการพัฒนานวัตกรรม “มีสิทธิ” ใหเกิดระบบและกลไกที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
       มากขึ้นใน 3 มิติ ไดแก มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนรากฐานสูการพัฒนาที่ยั่งยืน และมุงขยายผลการดําเนินงาน
       ใหครอบคลุมในพื้นที่ที่กวางขึ้น ผานกิจกรรมที่สําคัญ เพื่อใหเกิดเปาหมายของการรวมกันพัฒนา คือใหคนในชุมชนทองถิ่น รูจัก เขาใจ
       และเขาถึงสวัสดิการสังคมเฉพาะบุคคล ดวยแพลตฟอรมดิจิทัล “มีสิทธิ” ที่เชื่อมตอการทํางานแบบ real-time บนอินเตอรเน็ต
       ในเชิง Algorithm การประมวลผลควบคูไปกับการพัฒนาฐานขอมูล การพัฒนาสื่อการเรียนรูแบบเกมที่สนุกและเขาใจงาย ความยั่งยืน
       ของการตอยอดและใชประโยชนจาก “มีสิทธิ” เพื่อการจัดสวัสดิการสังคมเฉพาะบุคคลในชุมชนทองถิ่น
              ทั้งนี้ ภายในงานมีการบรรยายและการเสวนาจากวิทยากรและผูมีประสบการณที่เกี่ยวของ 3 เรื่อง ดังนี้ 1) เรื่อง “แนวทาง
       การสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมเพื่อสังคมของสถาบันนวัตกรรมและถายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา” 2) เรื่อง “มีสิทธิ” ความเปนมาและหนทางสูการพัฒนาการ
       จัดการสวัสดิการสังคมเฉพาะบุคคลดวยนวัตกรรมดิจิทัล” และ 3) เรื่อง “ประสบการณการรวมพัฒนา “มีสิทธิ” เพื่อแกปญหาสวัสดิการสังคมเฉพาะบุคคล” โดยมี
       ผูเขารวมกิจกรรม จํานวน 40 คน ประกอบดวยคณะนักวิจัย เจาหนาที่จากหนวยงานเทศบาล องคกรสวัสดิการชุมชนเครือขาย 3 จังหวัด ไดแก จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงใหม
       และจังหวัดลําพูน
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16