Page 13 - จดหมายข่าว วช 154
P. 13

ความรวมมือกับตางประเทศ

                                                              คณะนักวิจัยนักวิชาการไทยและจีน


                                                                  รวมนําเสนอผลงานวิชาการ

                                                    ในระหวางการสัมมนายุทธศาสตรไทย-จีน ครั้งที่ 12


                                                         ณ เมืองเซี่ยเหมิน สาธารณรัฐประชาชนจีน









               ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
        พรŒอมดŒวย ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ
        อดีตเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห‹งชาติ และประธานกรรมการส‹งเสริม
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และคณะนักวิจัยนักวิชาการของไทยเขŒาร‹วม
        ในการนําเสนอผลงานทางวิชาการ ในระหว‹างงานสัมมนายุทธศาสตรไทย-จีน
        ครั้งที่ 12 ระหว‹างวันที่ 26 - 27 พฤศจิกายน 2566 ณ Chen Yankui Building
        มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เมืองเซี่ยเหมิน มณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน
               โดยคณะนักวิจัยนักวิชาการไทยไดรวมนําเสนอผลงานทาง
        วิชาการในประเด็นทาทายที่สําคัญ ดังนี้ประเด็นทาทาย
               1.  การประชุมหัวขอเรื่อง “ครบรอบ 10 ป ภายใตกรอบ
         ความรวมมือหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง (The 10  Anniversary of the B&R
                                       th
        Initiative and China-Thailand Cooperation” โดยมี รองศาสตราจารย
        ดร.ณรงค เพ็ชรประเสริฐ จากมหาวิทยาลัยรังสิต เปน Session Chair
        โดยการประชุมหัวขอดังกลาวมีคณะนักวิจัยนักวิชาการไทยและจีน รวม
        นําเสนอผลงานทางวิชาการ 5 เรื่อง ประกอบดวย 1) เรื่อง “การพัฒนา
        ความสัมพันธทางการทูตและความรวมมือดานความมั่นคงระหวางจีนและ
        ไทย นับตั้งแตมีการเสนอแผนริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเสนทางเมื่อ 10 ปกอน”
        2) เรื่อง “การพัฒนาวัสดุการตรวจวัดทางชีวภาพเพื่อเปนจุดดูแลผูปวย
        สําหรับการตรวจวินิจฉัยและการตรวจประเมินในโรคไมติดตอเรื้อรัง” ดานพลังงานจีน-ไทย: สถานะปจจุบัน ความทาทาย และอนาคต” และ
        3) เรื่อง “โครงการริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง และโอกาสใหมในการสราง 6) เรื่อง “การแลกเปลี่ยนทางการคา การลงทุน และการทองเที่ยวไทย-จีน
        ชุมชนที่มีอนาคตรวมกันระหวางจีนและไทย” 4) เรื่อง “การเปลี่ยนแปลง หลังโควิด-19”
        การขนสงทุเรียนไทยไปจีนภายใตระเบียงเศรษฐกิจ BRI” และ 5) เรื่อง   3.  การประชุมหัวขอเรื่อง “จีนไทยศึกษาและการเชื่อมตอ
        “BRI: พลังการเชื่อมตอ สรางเศรษฐกิจเมืองและภูมิภาค”  ระหวางประชาชน (China-Thailand Studies and People-to-People
               2.  การประชุมหัวขอเรื่อง “การแลกเปลี่ยนทางการคา การ Exchange)” โดยมี คุณยุวดี คาดการณไกล รองผูอํานวยการศูนยวิจัย
        ลงทุน และการทองเที่ยวไทย-จีน หลังโควิด-19 (Trade, Investment and  ยุทธศาสตรไทยจีน วช. เปน Session Chair โดยการประชุมหัวขอดังกลาว
        Tourism in the Post-COVID-19 Era)” โดยมี พลเอก สุรสิทธิ์ ถนัดทาง  มีคณะนักวิจัยนักวิชาการไทยและจีน รวมนําเสนอผลงานทางวิชาการ
        ผูอํานวยการศูนยวิจัยยุทธศาสตรไทย-จีน วช. เปน Session Chair   5 เรื่อง ประกอบดวย 1) เรื่อง “การเสด็จเยือนจีนมากกวา 50 ครั้งของสมเด็จ
        โดยการประชุมหัวขอดังกลาวมีคณะนักวิจัยนักวิชาการไทยและจีน  พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี :
        รวมนําเสนอผลงานทางวิชาการ 5 เรื่อง ประกอบดวย 1) เรื่อง “การวิจัย ความหมายและความสําคัญ” 2) เรื่อง “กิจกรรมการกุศล กิจกรรม
        ความสนใจของเครือขายและโครงสรางเครือขายการไหลเวียนของการ สาธารณประโยชน และการบูรณาการทางสังคมของพอคาชาวจีนหนาใหม
        ทองเที่ยวและปจจัยที่มีอิทธิพลตอการทองเที่ยวจากจีนสูประเทศไทยหลัง ในประเทศไทย” 3) เรื่อง “ความรวมมือระหวางประเทศ ความรวมมือ
        โควิด-19” 2) เรื่อง “การศึกษาโลจิสติกสสงออกผลไมสดสูประเทศจีน ระหวางประชาชน และการแกไขปญหาแมนํ้าโขง” 4) เรื่อง “การสราง
        สําหรับเกษตรกรไทยรายเล็กสนับสนุนตัวแบบธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ความสัมพันธไทย-จีนในพื้นที่ประเทศที่สาม กรณีศึกษาภายใตการ
        ขามพรมแดน จากสวนผลไมถึงผูซื้อปลายทาง” 3) เรื่อง “การบูรณาการ ขับเคลื่อน Soft Power ของ สปป. ลาว” และ 5) เรื่อง “สรุปไทยศึกษา
        โซอุตสาหกรรมระหวางจีนและไทยในยุคหลังโรคระบาด : แนวโนมและ ในจีนแผนดินใหญ (พ.ศ. 2557-2566)” และเรื่อง “การถอดบทเรียน:
        ตัวขับเคลื่อน” 4) เรื่อง “อุตสาหกรรมรถยนตไฟฟา : โอกาสของสินคาจีน แนวทางสูอากาศบริสุทธิ์ของไทย-จีน”
        ของการปรับภาพลักษณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต” 5) เรื่อง “ความรวมมือ
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16