Page 14 - จดหมายข่าว วช 154
P. 14

กิจกรรม วช.

                                           การประชุมเสวนาวิชาการเตรียมรับมือฝุนละออง PM2.5


                                              เพื่อลดผลกระทบตอสุขภาพดวยวิจัยและนวัตกรรม









               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย
        และนวัตกรรม โดยศูนยรวมผูเชี่ยวชาญดานมลพิษอากาศและภูมิอากาศ (Hub
        of Talents on Air Pollution and Climate – HTAPC) จัดการประชุม
        สัมมนาวิชาการ เรื่อง “ไขขอของใจเกี่ยวกับ PM2.5 เรื่อง สุขภาพ ดวยวิจัย
        และนวัตกรรม” เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ณ กรมอนามัย กรุงเทพมหานคร
        และเรื่อง “ไขขอของใจเกี่ยวกับ PM2.5 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล   วช. ไดสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมดานทรัพยากรธรรมชาติและ
        ดวยวิจัยและนวัตกรรม” เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2566 ณ โรงแรมโนโวเทล  สิ่งแวดลอม ในกลุมเรื่อง Haze Free Thailand และ ปญหาฝุน PM2.5 มา
        กรุงเทพ ฟวเจอรปารครังสิต จังหวัดปทุมธานี โดยการประชุมเสวนาดังกลาว  อยางตอเนื่อง และไดตระหนักถึงสถานการณดังกลาว จึงไดจัดการประชุมเสวนา
        ไดรับเกียรติจาก ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  เพื่อเปนเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพรผลงานวิจัยและนวัตกรรมในประเด็น
        เปนประธานในพิธีเปดการประชุม พรอมดวย ดร.สุพัฒน หวังวงควัฒนา  ผลกระทบดานสุขภาพและการรับมือกับฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 ใน
        ผูอํานวยการศูนยรวมผูเชี่ยวชาญดานมลพิษอากาศและภูมิอากาศ ผูทรงคุณวุฒิ  ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อเปนขอมูลแกประชาชนในการเฝาระวัง การเผชิญเหตุ
        นักวิชาการ และผูเชี่ยวชาญเขารวมการประชุมเสวนา      เมื่อปริมาณฝุน PM2.5 สูงขึ้น ลดผลกระทบทางดานสุขภาพ ขอควรปฏิบัติ
                                                              การรักษาคุณภาพชีวิตของผูที่อยูอาศัยในพื้นที่ในชวงเวลาวิกฤต การจัดการ
                                                              พื้นที่ SAFE ZONE หรือพื้นที่ปลอดฝุน รวมถึงรวมกันเสนอมาตรการที่เหมาะสม
                                                              ในการจัดการฝุน PM2.5 ทั้งนี้ วช. และศูนยรวมผูเชี่ยวชาญดานมลพิษอากาศ
                                                              และภูมิอากาศจะนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมเปนสวนหนึ่งที่จะชวยเพิ่ม
                                                              ประสิทธิภาพใหประชาชน เฝาระวัง ปองกันฝุน PM2.5 สรางองคความรู อันจะ
                                                              นําไปสูสุขภาพ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมที่ดีในอนาคต

                  วช. รวมกับเครือขายนักวิชาการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ
                  วช. รวมกับเครือขายนักวิชาการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ
                  วช. รวมกับเครือขายนักวิชาการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ
                  วช. รวมกับเครือขายนักวิชาการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ
                  วช. รวมกับเครือขายนักวิชาการจัดเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ
                               เพื่อยกระดับธุรกิจอาหารทะเลไทยอยางยั่งยืน









               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร   วช. ภายใตกระทรวง อว. เล็งเห็นความสําคัญของการขับเคลื่อน
        วิจัยและนวัตกรรม จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณเพื่อใหเกิด ตอยอด และสงเสริมการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใชประโยชนดาน
        การสงเสริมการตลาดและจับคูธุรกิจอาหารทะเล (Seafood Business  เศรษฐกิจ (Research Utilization) ซึ่งเปนการนําผลงานวิจัยเชิงวิชาการ
        Matching) ภายใตโครงการ “การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ในรูปแบบโมเดลทางธุรกิจมาบูรณาการใหเกิดองคความรูดานธุรกิจอาหาร โดย
        ผูประกอบการประมงเพื่อขับเคลื่อนธุรกิจอาหารทะเลในพื้นที่จังหวัดปตตานี”  ธุรกิจอาหารทะเลมีความสําคัญกับภาคอุตสาหกรรมประมงของประเทศไทย
        ที่ วช. ใหการสนับสนุนทุนวิจัย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผูอํานวยการ ผูประกอบการประมงทองถิ่นจึงจําเปนที่จะตองปรับตัวในการพัฒนาผลผลิต
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ  พรอมดวยคณะผูทรงคุณวุฒิ  วช.  รวม สัตวนํ้าสูการสรางมูลคาเพิ่มผลิตภัณฑอาหารทางทะเล ซึ่งไดรับความรวมมือ
        เปนเกียรติในการเปดกิจกรรมเสวนาในครั้งนี้ โดยมี ผูชวยศาสตราจารย  จากเครือขายนักวิชาการจาก 5 สถาบัน ไดแก 1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
        ดร.อภิรักษ สงรักษ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย  ราชมงคลศรีวิชัย 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร 3) มหาวิทยาลัย
                             นายบุญรัตน บุญรัศมี หัวหนาโครงการวิจัย เทคโนโลยีพระนคร 4) มหาวิทยาลัยสยาม และ 5) มหาวิทยาลัยนานาชาติ
                             และทีมนักวิจัย พรอมดวย ผูประกอบการ แสตมฟอรด
                             ประมงพาณิชยในพื้นที่จังหวัดปตตานี ใหการ  กิจกรรมเสวนาในครั้งนี้ เปนจุดเริ่มตนของการขับเคลื่อนธุรกิจอาหาร
                             ตอนรับ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2566  ทะเล ที่วัตถุดิบมีความ “สด สะอาด อรอย และปลอดภัย” โดยผูประกอบการ
                             ณ ราน Fishmonger Ari ซอยอารีย 4 ฝงเหนือ  สามารถสงวัตถุดิบตรงจากทองทะเล จังหวัดปตตานี สูผูประกอบการรานอาหาร
                             เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร           เพื่อนําไปรังสรรคเมนูใหกับผูบริโภคไดรับรูคุณคาคูความอรอย และเปนการ
                                                              สงเสริมเศรษฐกิจจากทรัพยากรทางทะเลไทยอยางยั่งยืนตอไป
                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16