Page 15 - จดหมายข่าว วช 158
P. 15
วิศวกรสังคม
“วิศวกรสังคม”
“วิศวกรสังคม”
“วิศวกรสังคม” นําโจทยการจัดการนํ้า แกไขปญหาใหชุมชน
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
การวิจัยแหงชาติ พรอมดวยผูทรงคุณวุฒิ วช. ลงพื้นที่ติดตามผลการ
ดําเนินงานโครงการการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาดวยทักษะวิศวกรสังคม
ที่ วช. ใหการสนับสนุนการวิจัย เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ 2567 ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม และบานโนนแต จังหวัดมหาสารคาม
วช. ไดใหการสนับสนุนทุนวิจัย ในการบมเพาะวิศวกรสังคม
ดวยการวิจัยและนวัตกรรม แกมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แหง โดย นําความรูที่ไดไปพัฒนาทองถิ่นตามศักยภาพ ตรงกับสภาพปญหาและ
มหาวิทยาลัยราชภัฏไดนํากระบวนการ “วิศวกรสังคม” และวิศวกรสังคม ความตองการที่แทจริงของชุมชน ซึ่งโครงการนี้ไดประยุกตใหเขากับภารกิจ
ที่ผานการบมเพาะไปศึกษาโจทยในพื้นที่และออกแบบกระบวนการพัฒนา ในป 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมีความพรอมในการนํา
พื้นที่ชุมชนดวยวิจัยและนวัตกรรม โดยมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคาม กระบวนการวิศวกรสังคม เพื่อพัฒนาทักษะใหกับนักศึกษา และนําไปสู
(มรม.) ไดดําเนินการบมเพาะ พัฒนาและสงเสริมใหนักศึกษาวิศวกรสังคม การพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน โดยใชทรัพยากรในชุมชนใหเกิดประโยชน
นําทักษะ 4 ประการ ไดแก เปน นักคิด นักสื่อสาร นักประสานงาน และ สูงสุด โดยไดบูรณาการการเรียนการสอนนักศึกษาใหฝกปฏิบัติงานจริง
นักสรางนวัตกรรม เปนเครื่องมือในการดําเนินการเพื่อพัฒนาและออกแบบ ตามกระบวนการวิศวกรสังคมรวมกับชุมชน โดยใหนักศึกษา วิศวกรสังคม
โจทยรวมกับชุมชน ทําใหวิศวกรสังคมสามารถทํางานรวมกับทองถิ่น ลงพื้นที่เพื่อศึกษาบริบทชุมชน เก็บขอมูลชุมชน และถายทอดองคความรู
ไดอยางมีสวนรวม และมีความเขมแข็งเปนตนแบบที่ดี ดังที่วิศวกรสังคม จากงานวิจัยและเทคโนโลยี หรือนวัตกรรม สูชุมชน โดยมีการลงชุมชน
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่ทํางานรวมกับชุมชนบานโนนแต 5 พื้นที่ ไดแก ชุมชนบานทาตูม และชุมชนบานทาสองคอน มีความตองการ
จังหวัดมหาสารคาม ไดเปนกระบวนการที่เขมแข็ง ชุดเลี้ยงปลาอควาโปนิกส ชุมชนเขาพระนอน มีความตองการชุดกาลักนํ้า
“วิศวกรสังคม” เปนรูปแบบที่ชวยใหมหาวิทยาลัยราชภัฏ อัตโนมัติ ชุมชนโนนภิบาล และชุมชนบานโนนแต มีความตองการ
มหาสารคามสามารถพัฒนานักศึกษามารวมดําเนินงานเพื่อการพัฒนา ชุดเครื่องสูบนํ้าดวยพลังงานแสงอาทิตย
ชุมชนไดตรงตามความตองการของชุมชน ดังจะเห็นไดจาก “โครงการ ซึ่งในการนี้ ไดมีการลงพื้นที่เพื่อติดตามงานของวิศวกรสังคม
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาดวยทักษะวิศวกรสังคม เพื่อนําไปสูการพัฒนา ที่ไดนําโจทยของชุมชนมาจัดทํากระบวนการและนํานวัตกรรมเรื่อง
พื้นที่ชุมชนความรวมมือดานบริการวิชาการกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ชุดเครื่องสูบนํ้าดวยพลังงานแสงอาทิตยไปใช ณ ชุมชนบานโนนแต
มหาสารคาม” ที่ไดรับการสนับสนุนจาก วช. ที่มีผูชวยศาสตราจารย เนื่องจากพบวาพื้นที่ดังกลาว มีแหลงนํ้าธรรมชาติแตอยูหางไกลจาก
ดร.ไชยยันต สกุลไทย หัวหนาโครงการ ไดเริ่มโครงการตั้งแตเดือน ชุมชน และมีปญหาในการนําสงนํ้าจากแหลงนํ้าสาธารณะ จึงไดพัฒนา
พฤษภาคม 2565 – ปจจุบัน ซึ่งนําเอากระบวนการวิศวกรสังคมมา โมเดลการใชแหลงนํ้าที่สรางขึ้นมาที่มีขนาดใหญเพียงพอ เพื่อรองรับการทํา
พัฒนานักศึกษาใหมีประสบการณและทักษะการทํางานจริงรวมกับชุมชน การเกษตรที่เปนอาชีพหลักของชุมชนอื่น ๆ และเปนพื้นที่ที่ไฟฟาเขาไมถึง
โดยใชเครื่องสูบนํ้าพลังงานแสงอาทิตย เปนนวัตกรรมตนแบบในการนํา
พลังงานทดแทนจากธรรมชาติมาใชเพื่อแกปญหาในการทําเกษตรกรรม
ทําใหพื้นที่สามารถนําสงนํ้าเขาแปลงปลูกไดทําใหการเพาะปลูกขาว
เหนียวไดเจริญเติบโตดี มีผลผลิตที่สามารถเก็บไวบริโภคตลอดทั้งปและยัง
แบงจําหนายเปนรายไดไดอีกดวย ขณะที่เกษตรพื้นที่อื่น ๆ ที่ไมมีการนํา
สงนํ้าเขาแปลงปลูกไมสามารถปลูกพืชและปลูกขาวไดในชวงที่ไมใชฤดูกาล
ทั้งนี้ คณะผูบริหาร ผูทรงคุณวุฒิ วช. คณะนักวิจัย ไดรวมกัน
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผลสําเร็จจากการดําเนินโครงการดังกลาวกับ
ผูนําชุมชนบานโนนแต เพื่อรับฟงความคิดเห็นและตอยอดองคความรู
ตอไป
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15