Page 16 - จดหมายข่าว วช 158
P. 16

วิศวกรสังคม

                             พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปดการประชุม
                             พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปดการประชุม
                             พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปดการประชุม
                        “การพัฒนาแบบทดสอบมาตรฐานคุณลักษณะวิศวกรสังคม”















               พลเอก
               พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปšนประธานในพิธีเปดดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปšนประธานในพิธีเปด แบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มาตามลําดับ เพื่อมุงสรางแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มาตามลําดับ เพื่อมุงสรางแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มาตามลําดับ เพื่อมุงสรางแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มาตามลําดับ เพื่อมุงสรางแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มาตามลําดับ เพื่อมุงสราง
               พลเอก
               พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปšนประธานในพิธีเปดดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี เปšนประธานในพิธีเปด
        การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาแบบทดสอบมาตรฐานคุณลักษณะ สมรรถนะหลักแหงศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย ทักษะการคิดเชิงเหตุผล
        วิศวกรสังคมสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ เห็นปญหาเปนสิ่งทาทาย, ทักษะการสื่อสารองคความรูเพื่อแกปญหา,
        อุดรธานี ร‹วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ  ทักษะการทํางานรวมกับผูอื่นโดยปราศจากขอขัดแยง ระดมทรัพยากร
        2567 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด กรุงเทพมหานคร             ในการแกปญหา และทักษะการสรางนวัตกรรม โดยการดําเนินงานของ
               โครงการพัฒนาแบบทดสอบมาตรฐานคุณลักษณะวิศวกร โครงการดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        สังคมสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ มีวัตถุประสงคเพื่อนอมนํา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
        พระบรมราโชบายดานการศึกษา มาบมเพาะทักษะจําเปนสําหรับ
        ศตวรรษที่ 21 แกนักศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏไดดําเนินกิจกรรม
        การพัฒนา Soft Skills ดวยกระบวนการวิศวกรสังคมมา ตั้งแต
        ปลายป 2562 โดยมีการพัฒนากระบวนการ พรอมการปฏิบัติ

                   งานวิจัย : สรางความปลอดภัยในชีวิต

                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                     งานวิจัยและนวัตกรรมสรŒางความปลอดภัยในชีวิต
                                                                  และสวัสดิภาพสาธารณะของสังคมไทย








            สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.ยุพิน เลิศบุรุษ ผูŒอํานวยการกลุ‹มงานพัฒนาเชิงพื้นที่และชุมชน
     นําคณะผูŒทรงคุณวุฒิ วช. นายธานินทร ผะเอม นายสมบูรณ วงคกาด และ รองศาสตราจารย ดร.ศุภวัฒนากร วงศธนวสุ ลงพื้นที่ติดตามความกŒาวหนŒาโครงการ ระหว‹างวันที่
     24 - 25 มกราคม 2567 ดังนี้
                 โครงการ “การพัฒนาระบบฝกทักษะการดับไฟปาสําหรับอาสาสมัครดับไฟปาโดยใชเทคโนโลยีเสมือนจริงและเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ”
     ซึ่งมี ดร.กรด เหล็กสมบูรณ สังกัด สถาบันวิจัยพหุศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนหัวหนาโครงการ โดยโครงการดังกลาว มีการดําเนินงานครอบคลุมขั้นตอน
     กระบวนการดับไฟปา ที่จําลองเสมือนจริงของการเกิดไฟปา และวิธีการใชอุปกรณดับไฟปาประเภทตาง ๆ รวมถึงการเอาตัวรอดในสถานการณฉุกเฉินเพื่อรักษาชีวิต
     โดยดําเนินการในพื้นที่นํารองปาสงวนแหงชาติ จังหวัดเชียงใหม และรวมมือกับเครือขายหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม
     ศูนยปฏิบัติการไฟปาเชียงใหม ทั้งนี้ คณะผูทรงคุณวุฒิ วช. ไดเยี่ยมชมศูนยปฏิบัติการไฟปาเชียงใหม ตําบลสุเทพ อําเภอเมืองเชียงใหม ซึ่งเขามาเปนสวนหนึ่ง
     ของการจัดการไฟปา โดยเปดรับอาสาสมัครคนในพื้นที่ และไดรับการตอบรับเปนจํานวนมาก
                 โครงการ “กลไกระดมทุนใหมเพื่อยกระดับสวัสดิภาพสาธารณะของคนชายขอบในเขตภาคเหนือ
     ตอนบน” โดยมี นางปองทิพย เที่ยงบูรณธรรม สังกัด หางหุนสวนจํากัด เฮซ ฟรี เปนหัวหนาโครงการ ไดมีการ
     พบปะกับกลุมเกษตรกร และเยี่ยมชมพื้นที่แปลงเกษตรอินทรียบานหวยตอง ตําบลแมวิน อําเภอแมวาง
     จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเปนพื้นที่ตนแบบการนําองคความรูและการปรับเปลี่ยนหวงโซอุปทานใหม เพื่อเชื่อมโยงผูผลิต
     และผูบริโภคเขาดวยกัน สนับสนุนดานการตลาด และคุณภาพของผลผลิต การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย
     แบบมีสวนรวม ผานการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ทําใหสามารถเปลี่ยนแนวความคิดของกลุมคนชายขอบ
     ใหหันมาใชประโยชนพื้นที่อยางยั่งยืนได ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิจาก วช. ไดเยี่ยมชมศูนยรวบรวมผลผลิต Haze Free
     (Haze Free Social Enterprise วิสาหกิจเพื่อสังคมไรควัน) จากกลุมเกษตรกรผูเขารวมโครงการ และ
     ชมกระบวนการขั้นตอนการจัดเก็บ คัดแยก เพื่อสงออกไปสูตลาด
                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16