Page 3 - จดหมายข่าว วช 158
P. 3

รางวัลการวิจัยแหงชาติ


                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติ
                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติ
                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติ
                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติ
                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติใหม‹ใหม‹ใหม‹ใหม‹ใหม‹ใหม‹
                   นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ คิดคŒนเทคโนโลยีจัดการโรคไวรัสอุบัติ
                                         ในฟารมปลานิลและปลานิลแดง








               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  เชน การพัฒนาการตรวจสอบโรค การศึกษากลไลการกอโรคของเชื้อไวรัส
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม จัดงาน NRCT Talk : นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ ในปลา รวมถึงศึกษาตัวเชื้อไวรัสวามีลักษณะสารพันธุกรรมเปนอยางไร
        ประจําป‚ 2567 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2567 โดยไดŒรับเกียรติ สวนการใชวัคซีน ทีมวิจัยไดพัฒนาวัคซีนหลายแบบ อาทิ แบบแช เพื่อ
        จากนักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา ประจําป‚ 2567  ที่จะทําใหปลาเกิดภูมิคุมกัน นอกจากนี้ยังไดมีการศึกษาการตอบสนอง
        รองศาสตราจารย ดร. นายสัตวแพทยวิน สุรเชษฐพงษ แห‹ง คณะสัตวแพทยศาสตร  ภูมิคุมกันในปลาที่ไดรับเชื้อไวรัสและปลาที่ไดรับวัคซีน  ซึ่งไดทําการวิจัย
        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผูŒศึกษา สรŒางองคความรูŒและเทคโนโลยีเพื่อจัดการ มาอยางตอเนื่อง
        โรคไวรัสอุบัติใหม‹ในฟารมปลานิลและปลานิลแดง มาร‹วมพูดคุยใน NRCT Talk   อีกมุมหนึ่ง คือเรื่องการถายทอดองคความรูที่ไดจากงานวิจัย
        พรŒอมนี้ ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ ไดŒกล‹าว โดยเฉพาะที่ไดจากหองทดลอง ไดนําไปถายทอดใหกับเกษตรกร
        เปดงานพรŒอมกล‹าวตŒอนรับ                              มีการทํางานอยางใกลชิดกับฟารมเพาะพันธุลูกปลา รวมถึงเกษตรกรที่
               รองศาสตราจารย ดร. นายสัตวแพทยวิน สุรเชษฐพงษ แหง  เลี้ยงปลา และบริษัทเอกชนที่เกี่ยวของ ซึ่งองคความรูที่ไดศึกษาใน
        คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรับการเชิดชูเกียรติ ประเทศไทยไดถูกถายทอดไปสูองคกรระหวางประเทศที่เลี้ยงปลานิล
        ในรางวัลการวิจัยแหงชาติ นักวิจัยดีเดนแหงชาติ สาขาเกษตรศาสตรและ ในหลายประเทศ เนื่องจากปลานิลเปนปลาเศรษฐกิจที่เกษตรกรนิยมเลี้ยง
        ชีววิทยา ประจําป 2567 ซึ่งรองศาสตราจารย ดร. นายสัตวแพทยวิน  อันดับตน ๆ ของโลก และในหลายประเทศก็เจอปญหาการระบาดของ
        สุรเชษฐพงษ ไดอุทิศตนเพื่องานวิจัยอยางตอเนื่อง มีผลงานศึกษาวิจัยเรื่อง  เชื้อไวรัสอยางกวางขวาง ปจจุบันโรคไวรัสอุบัติใหมเปนไวรัสที่ตองมีการ
        “โรคไวรัสอุบัติใหมในปลานิลและปลานิลแดง” เชน โรคไวรัส Tilapia Lake  เฝาระวังและควบคุมโดยองคกรสุขภาพสัตวโลก
        ผลการศึกษาวิจัยครอบคลุมตั้งแตการคนพบเชื้อไวรัสในฟารมปลานิล  ผลงานวิจัย “โรคไวรัสอุบัติใหมในปลานิลและปลานิลแดง”
        ในประเทศไทย การศึกษากลไกและปจจัยการกอโรคของเชื้อไวรัส  เปนตัวอยางงานวิจัยที่มีเปาหมายชัดเจน แสดงใหเห็นถึงศักยภาพของ
        การศึกษาวิธีควบคุมปองกันโรคภายในฟารม รวมถึงการพัฒนาวัคซีนและ นักวิจัยไทยในระดับสากล ทั้งการมีความคิดริเริ่ม และเปนผูนําในหัวขอ
        วิธีทดสอบโรค องคความรูและเทคโนโลยีไดถูกถายทอดไปสูเกษตรกร ที่ศึกษาวิจัย ซึ่งสวนใหญเปนงานวิจัยใหม ที่ยังไมมีการศึกษามากอน
        เพื่อแกไขปญหาการระบาดของเชื้อไวรัสภายในฟารมปลานิลและ จนนําไปสูการกําหนดแนวทางควบคุมโรค และการแกไขปญหาอยาง
        ปลานิลแดง ผลงานวิจัยไดรับการยอมรับในวงวิชาการทั้งในประเทศและ ถูกตอง ซึ่งการศึกษาวิจัยมีการเชื่อมโยงระหวางผลปฏิบัติการ และการ
        ตางประเทศ เชน การไดรับเกียรติใหเปนผูเชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาใหกับ ใชประโยชนในภาคสนามในฟารมเกษตรกร รวมถึงไดมีการขยายผลไปสู
        องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) เปนตน     การใชประโยชนในเชิงวิชาการ และการปฏิบัติในภาคสนามกับเกษตรกร
               ปลานิล เปนปลาเศรษฐกิจที่สําคัญอันดับ 1 ของประเทศไทย  และผูมีสวนเกี่ยวของในระดับองคกรภายในประเทศ และตางประเทศ
        ซึ่งเปนปลาพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร  ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ในวงวิชาการดานโรคไวรัสอุบัติใหม และ
        มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ใหกับพสกนิกรชาวไทยกวา  อุบัติซํ้าในสัตวนํ้า
        50 ป มีการเลี้ยงปลาในหลายพื้นที่ของประเทศไทย มีเกษตรกรที่เลี้ยง  สําหรับกิจกรรม “NRCT Talk: นักวิจัยดีเดนแหงชาติ ประจําป
        หลายครอบครัว ซึ่งปญหาที่ลงไปศึกษาในชวง 10 ป ที่ผานมา พบวา  2567” ในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีใหนักวิจัยไดนําเสนอผลงานวิจัยและ
        เกษตรกรเจอปญหาปลาตายในชวงหนึ่งเดือนแรก รองศาสตราจารย  นวัตกรรมผานสื่อมวลชน ตลอดจนการผลิตและเผยแพรประชาสัมพันธ
        ดร. นายสัตวแพทยวิน สุรเชษฐพงษ จึงไดทําการศึกษาและคนควา ผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐคิดคนและนวัตกรรม กิจกรรม ภารกิจ
        หาขอมูลการระบาด และนําตัวอยางปลาปวยกลับมาที่หองปฏิบัติการ และผลการดําเนินงานของ วช. เพื่อใหสื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการ
        เพื่อศึกษาปจจัยตาง ๆ ประกอบกัน ทําใหทราบวากําลังเจอกับโรคไวรัส ประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานและกิจกรรมของ วช. ไปสูชุมชนและ
        ชนิดใหม ขณะนั้นยังไมมีรายงานในประเทศไทย เมื่อคนพบวาเปนเชื้อไวรัส สาธารณชนเพื่อใหไดทราบและนําไปสูการใชประโยชนตอไป
        ชนิดใหม จึงไดเริ่มศึกษาและแยกตัวไวรัสออกมา และไดศึกษาในแงมุมตาง ๆ













        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                          3
   1   2   3   4   5   6   7   8