Page 7 - จดหมายข่าว วช 158
P. 7

การพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม


                    การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต
                    การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต
                    การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต
                    การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกตใชŒ IoT ใชŒ IoT ใชŒ IoT ใชŒ IoT
                                             ขั้นพื้นฐานเพื่อการเกษตร”












                                           สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
                                    นวัตกรรม จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การประยุกตใช Internet of Things
                                    (IoT) ขั้นพื้นฐานเพื่อการเกษตร” ระหวางวันที่ 13 - 14 กุมภาพันธ 2567 ณ ศูนยพัฒนา
                                    สิ่งประดิษฐเพื่ออนาคตและความยั่งยืน วช. โดยมี รองศาสตราจารย ดร.ชัยรัตน ตรีทรัพยสุนทร
                                    และผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิรา ดลเพ็ญ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนวิทยากรในการ
                                    ถายทอดองคความรูเกี่ยวกับ IoT เพื่อเกษตรอัจฉริยะ
                                           การจัดกิจกรรมการอบรมดังกลาว ไดรับความสนใจจากนักเรียนโรงเรียนสายปญญา ในพระบรม
                                    ราชินูปถัมภ โรงเรียนธนบุรีวรเทพีพลารักษ และโรงเรียนเทพศิรินทร นนทบุรี เขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการทดลอง ใช
                                    งาน IoT ในงานเกษตร โดยการทดลองตอวงจรอิเล็กทรอนิกสบน Breadboard Digital, Workshop โปรแกรม
                                    พื้นฐาน การเขียนโปรแกรมเพื่ออานคาความชื้นในดิน ความชื้นและอุณหภูมิในอากาศ และการเชื่อมตออุปกรณ
     กับฐานการทดลอง ซึ่งเปนประสบการณที่มีความสําคัญในการพัฒนาทักษะและความรูในดานเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร
             ทั้งนี้ ไดรับเกียรติจากนายธีรวัฒน บุญสม ผูอํานวยการกองสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม และนางสาวเสาวนีย มุงสุจริตการ
     เลขานุการกรม สํานักงานการวิจัยแหงชาติ มอบใบประกาศนียบัตรใหกับนักเรียนที่ผานการอบรมเชิงปฏิบัติการ และ วช. หวังวากิจกรรมนี้จะเปนจุดเริ่มตน
     ที่ดีในการสงเสริมและสรางนวัตกรรมรุนใหมที่มีความเขาใจและทักษะที่เกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสายงานในดานการเกษตรและ
     นวัตกรรมของประเทศตอไป



                     คณะนักศึกษาจาก 2 มหาวิทยาลัย ร‹วมกิจกรรม


                     ถ‹ายทอดองคความรูŒ ณ ศูนยเกษตรวิถีเมือง วช.
















             สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย นายศุภโชค สมบูรณกุล ผูอํานวยการกลุมพัฒนาระบบบริหาร
      ใหการตอนรับคณะอาจารยและนักศึกษาจากสาขาการออกแบบและการจัดการภูมิทัศนเพื่อสิ่งแวดลอม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
      พรอมดวยสาขาวิชาการจัดการทั่วไป และสาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที่ใหความสนใจเขาเยี่ยมชมและรวมกิจกรรมถายทอด
      องคความรู “การออกแบบพื้นที่กับเกษตรวิถีเมือง” และ “การปลูกผักสลัดกินเองในครัวเรือน” ภายใตโครงการ “การสงเสริมความรูการนํางานวิจัยตามแนวคิด BCG
      สูการปฏิบัติเพื่อประโยชนตอสังคม” โดยมี ดร.มนสินี อรรถวานิช และ อาจารยกฤษฎา พลทรัพย จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
      ใหเกียรติเปนวิทยากร ระหวางวันที่ 25 - 26 มกราคม 2567 ณ ศูนยเกษตรวิถีเมือง วช. สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
             ศูนยเกษตรวิถีเมือง วช. เปนโครงการพัฒนาพื้นที่การใชประโยชนสําหรับการปลูกพืชในเมือง เพื่อทดลอง รวบรวม และสาธิตการใชประโยชนนวัตกรรมและ
      องคความรูในการเพาะปลูกพืชอาหาร ภายใตแนวคิด Adaptive Reuse โดยนํานวัตกรรมจากงานวิจัยมากกวา 30 เทคโนโลยี มารวมพัฒนาใหเกิดการผลิตพืชผักผลไม
      พรอมนี้ วช. รวมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ไดนําวัสดุเหลือใช
      จากการผลิต ที่เกิดจากแนวคิด Recycle Upcycle มาใชเปนนวัตกรรมในการพัฒนาพื้นที่ศูนยเกษตรวิถีเมือง วช. ดวย อาทิ อิฐบล็อกจากขยะโรงไฟฟา ยางมะตอย
      ลาดพื้นถนนจากพลาสติกเหลือใช รวมทั้ง  วช. ยังใหความสําคัญกับการนํานวัตกรรมเพื่อการประหยัดพลังงานมาใชในการพัฒนาพื้นที่ อาทิ นวัตกรรมประหยัดพลังงาน
      ดวยพลังงานลม นวัตกรรมการใชพลังงานแสงอาทิตยอยางเหมาะสม เปนตน  เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ นําไปประยุกตใชตอไป
      ดวยพลังงานลม นวัตกรรมการใชพลังงานแสงอาทิตยอยางเหมาะสม เปนตน  เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ นําไปประยุกตใชตอไป
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                          7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12