Page 8 - จดหมายข่าว วช 158
P. 8

งานวิจัย : สิ่งแวดลอม












                                 วช. นําวิจัยและนวัตกรรม “รูŒทันฝุ†น PM2.5”














               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  จากมหาวิทยาลัยมหิดล และประเด็น “วิธีแกปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม จัดการเสวนา เรื่อง “รูŒทันฝุ†น PM2.5 เพื่อ PM2.5” โดย ดร.สุพัฒน หวังวงควัฒนา ผูอํานวยการศูนยรวมผูเชี่ยวชาญ
        สุขภาพ ดŒวยวิจัยและนวัตกรรม” โดย ศูนยรวมผูŒเชี่ยวชาญดŒานมลพิษอากาศ ดานมลพิษอากาศและภูมิอากาศ (Hub of Talents on Air Pollution
        และภูมิอากาศ (Hub of Talents on Air Pollution and Climate – HTAPC)  and Climate – HTAPC)
        ร‹วมกับ ศูนยรวมผูŒเชี่ยวชาญดŒานอนามัยสิ่งแวดลŒอม (Hub of Environmental   โดยหลังจากการเสวนาวิชาการในประเด็นตาง ๆ ที่นาสนใจ
        Health) ภายใตŒโครงการศูนยรวมผูŒเชี่ยวชาญ (Hub of Talents) โดยมี  ดังกลาวไปแลวขางตน ถัดมาจึงมีการเสวนา “รูทันฝุน PM2.5 เพื่อสุขภาพ
        ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ เปšนประธาน และแกไข ดวยวิจัยและนวัตกรรม” ซึ่งผูเชี่ยวชาญดานมลพิษอากาศและ
        กล‹าวเปดงาน เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2567 ณ ศูนยสารสนเทศกลาง ภูมิอากาศ ไดใหความรูความเห็นเกี่ยวกับฝุน PM2.5 วา ฝุน PM2.5
        ดŒานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม อาคาร วช. 8 สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ เกิดขึ้นไดจากหลายปจจัย ทั้งฝุนควันที่เกิดจากอุตสาหกรรมการผลิต
               ดวยปจจุบันปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 เกินคา ผลิตภัณฑอุปโภคบริโภคตาง ๆ ที่ตองมีการปลอยควันในกระบวนการผลิต
        มาตรฐานในหลายพื้นที่ ทําใหประชาชนไดรับผลกระทบ ทั้งนี้เพื่อสราง และควันจากการเผาไหมในกิจกรรมในครัวเรือน เชน การประกอบอาหาร
        ความเขาใจและรูทันตอเหตุการณ วช. จึงไดนําองคความรูและขอมูล การจุดธูปเทียน หรือแมแตควันจากการสูบบุหรี่ ซึ่งมีโอกาสเกิดการเผา
        ที่เปนประโยชนจากงานวิจัยและนวัตกรรม ไดแก 1) การพยากรณ/ ไหมที่ไมสมบูรณ ลวนเปนสาเหตุหลักในการเกิดฝุน PM2.5 โดยผลกระทบ
        คาดการณปริมาณ PM2.5 2) การลด PM2.5 จากแหลงกําเนิด  จากฝุนละอองขนาดเล็กของฝุน PM2.5 ตอสุขภาพ นั้น มีคาฝุน PM2.5
        3) การบรรเทาปญหา PM2.5 ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม  ที่สูง ซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพและสะสมในระยะยาว สงผลตอระบบ
        ระบบนิเวศ และสุขภาพอนามัย 4) การสรางความรับรูของประชาชน และ  ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ กระตุนภูมิแพ โรคหืด โรคถุงลมโปงพอง
        5) การบริหารจัดการ PM2.5 โดยนําองคความรูดังกลาวมาแลกเปลี่ยนและ มะเร็งปอด และภาวะอักเสบเรื้อรัง ดังนั้น ควรปองกันการรับฝุน PM2.5
        พูดคุย ในขอมูลที่ถูกตองเพื่อแกปญหาฝุน PM2.5 โดยมีผูเชี่ยวชาญจาก  เขาสูรางกาย โดยเฉพาะกลุมเสี่ยงที่จะทําใหเกิดผลกระทบรุนแรง อาทิ
        “ศูนยรวมผูเชี่ยวชาญดานมลพิษอากาศและภูมิอากาศ” รวมนําเสนอ กลุมผูสูงอายุ ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง เชน โรคปอด โรคหัวใจ ฯลฯ
        ในประเด็นสําคัญ เพื่อที่จะเปนสวนหนึ่งที่จะชวยใหประชาชนรูทันฝุน  หญิงตั้งครรภและเด็กอายุตํ่ากวา 10 ป โดยงานวิจัยและนวัตกรรม
        PM2.5 ดวยวิจัยและนวัตกรรมไดอยางเหมาะสม             จะสามารถเขามามีสวนชวยแกไขปญหาผลกระทบจากฝุน PM2.5
               สําหรับการเสวนาวิชาการมีประเด็นตาง ๆ ที่นาสนใจ ประกอบ ซึ่งประเทศไทยมีนวัตกรรมที่รองรับสําหรับการแกไขปญหา ประกอบดวย
        ดวย ประเด็น “ที่มาฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5” โดย รองศาสตราจารย  การจัดทําบัญชีการระบายมลพิษ การจัดทําแบบจําลองทางคณิตศาสตร
        ดร.เอกบดินทร วินิจกุล จากสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (Asian Institute  เพื่อใชในการแกไขปญหา PM2.5 และการกําหนดมาตรการในการลดฝุน
        of Technology: AIT) ประเด็น “ผลกระทบฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5  PM2.5 จากแหลงมลพิษตาง ๆ
        ตอสุขภาพ” โดย รองศาสตราจารย ดร. นายแพทยบุญรัตน ทัศนียไตรเทพ   จากที่กลาวมาจะเห็นไดวา PM2.5 ฝุนละอองเล็กจิ๋ว สงผลเสีย
                                                              ตอสุขภาพ หลายประเทศตองเผชิญปญหามลพิษจากฝุนละอองในอากาศ
                                                              ดวยสาเหตุจากประชากรหนาแนน ความคับคั่งของการจราจร รวมถึง
                                                              เขมาควัน และฝุนผงจาก การกอสราง การเผาไหม ซึ่งจากการเสวนาวิชาการ
                                                              ในครั้งนี้จะมีสวนนําไปสูการเตรียมความพรอมการรวมมือกันจากหลาย
                                                              ภาคสวนในการจัดการกับปญหาฝุนละออง รูเทาทันฝุน PM2.5 ดวยวิจัย
                                                              และนวัตกรรมอยางยั่งยืน ซึ่งเราทุกคนมีสวนในการกอมลพิษไมมาก
                                                              ก็นอย จึงตองชวยกันปองกันและแกไขปญหาฝุนจิ๋ว PM2.5 กันตอไป

                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13