Page 5 - จดหมายข่าว วช 158
P. 5

การพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม


        การลงนาม MOU ผนึกกําลังขับเคลื่อนบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ












               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระ ทรวงการอุดมศึกษา
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม จัดพิธีลงนามบันทึกขŒอตกลงความร‹วมมือ
        ทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ระหว‹างสํานักงาน
        การวิจัยแห‹งชาติ กับหน‹วยงานเครือข‹ายดŒานการวิจัย จํานวน 12 หน‹วยงาน
        ผ‹านระบบประชุมทางไกลผ‹านจอภาพ (Video Conference) เมื่อวันที่
        20 กุมภาพันธ 2567 เพื่อส‹งเสริมความร‹วมมือกับหน‹วยงานเครือข‹ายดŒาน บุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ผานระบบประชุมทางไกลผานจอภาพ (Video
        การวิจัยในการขับเคลื่อนการพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ  Conference)
        ภายใตŒโครงการฝƒกอบรม “สรŒางนักวิจัยรุ‹นใหม‹” (ลูกไก‹)        การลงนามในครั้งนี้ เปนการประกาศเจตนารมณรวมกัน
               ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  ในการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
        เปนประธานและรวมลงนามบันทึกขอตกลง ฯ และนายสมปรารถนา สุขทวี  เพื่อจุดประกายและสงเสริมใหเกิดนักวิจัยรุนใหม สามารถผลิตและพัฒนา
        รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนพยานในการลงนาม ศักยภาพนักวิจัยรุนใหมหรือบุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรมที่พรอม
        บันทึกขอตกลง ฯ พรอมดวยผูบริหารหนวยงานเครือขายดานการวิจัย  จะกาวเขาสูเสนทางอาชีพในระบบวิจัยและนวัตกรรมใหเพิ่มจํานวน
        จํานวน 12 หนวยงาน ไดแก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,  มากขึ้น มีคุณภาพและสามารถนําการวิจัยมาประยุกตสูการใชประโยชน
        สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย, มหาวิทยาลัย ในระดับชุมชนพื้นที่และประเทศได พรอมสรางเครือขายความรวมมือ
        ศรีนครินทรวิโรฒ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, มหาวิทยาลัย ทางวิชาการและการวิจัยใหมีความเขมแข็ง เพื่อพัฒนาผลงานวิจัยและ
        มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ,  นวัตกรรมใหสามารถแขงขันไดในระดับประเทศ ผานการดําเนินงาน
        มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค, มหาวิทยาลัย โครงการฝกอบรม “สรางนักวิจัยรุนใหม” (ลูกไก) ประจําปงบประมาณ
        ราชภัฏเชียงใหม, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี และวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2567 ซึ่งการฝกอบรมดังกลาว กําหนดจัดขึ้นในเดือนเมษายน -
        ระนอง รวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการในการพัฒนา สิงหาคม 2567 โดยครอบคลุมทั้ง 4 ภูมิภาค


                  นักวิจัยไทยเขŒาร‹วมการประชุม HOPE Meeting ครั้งที่ 15

                                                    ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ†น













              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนหนวยงานหลักของไทยในการเสนอชื่อนักศึกษาระดับ ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนหนวยงานหลักของไทยในการเสนอชื่อนักศึกษาระดับ ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนหนวยงานหลักของไทยในการเสนอชื่อนักศึกษาระดับ ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวั
              ส ส ส ส ส
       ปริญญาเอก และ/หรือ นักวิจัยระดับหลังปริญญาเอก ที่มีผลงานที่ประสบความสําเร็จโดดเดนในการทําวิจัย ตลอดจนใหความสนใจเรื่องผลกระทบตอสังคม
       ที่เกิดจากการใชความรูทางวิทยาศาสตร โดยมีนักวิจัยรุนเยาวที่ไดรับการคัดเลือก จํานวน 4 ราย ไดแก 1) นางสาวรุงตะวัน คําทวี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
       2) นายตะวันวิษทร เหลืองวันทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3) นายชนะชัย แซลี้ มหาวิทยาลัยมหิดล และ 4) นายนครินทร ทรัพยเจริญดี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
       และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เพื่อเปนผูแทนประเทศไทยเขารวมการประชุม HOPE Meeting ครั้งที่ 15 ในสาขาฟสิกส เคมี สรีรวิทยา/แพทยศาสตร
       และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ระหวางวันที่ 26 กุมภาพันธ – 1 มีนาคม 2567 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุน โดยรวมกับองคการสงเสริมวิชาการแหงประเทศ
       ญี่ปุน (JSPS) เพื่อขับเคลื่อนความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟก
              การประชุมดังกลาวเปนการสงเสริมความสามารถของนักวิจัยรุนเยาวใหมีทรรศนะที่เปดกวาง และสามารถพัฒนาความสามารถทางการวิจัย
       ในระดับสูงได และเพื่อสงเสริมและเปดโอกาสใหแกบัณฑิตศึกษาในภูมิภาค สรางเครือขาย และไดแลกเปลี่ยนความรูในสาขาตาง ๆ กับผูที่ไดรับรางวัลโนเบล
       และนักวิทยาศาสตรชั้นนําจากทั่วโลก
              ภายในงานประชุม ผูเขารวม  ฯ ไดรับฟงบรรยายจากนักวิทยาศาสตรรางวัลโนเบลสาขาตาง ๆ ทั้งหมด 7 ทาน และไดรวมกิจกรรมสนทนากลุม
       กับนักวิทยาศาสตรรางวัลโนเบลพรอมกับนักวิทยาศาสตรรุนใหมจากหลากหลายประเทศ ผูเขารวมการประชุมมีโอกาสทําความรูจักและสนทนาดวยกัน
       ผานกิจกรรมตาง ๆ  ไดแก การนําเสนอผลงานวิจัยแบบ Flash Talk 1 นาที การนําเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร (Poster Presentation) การนําเสนอ
       ผลงานแบบกลุม (Group Presentation) และกิจกรรม Workshop ตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรูวัฒนธรรมญี่ปุน เปนตน
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                          5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10