Page 5 - NRCT Newsletter Vol 57
P. 5

กจิ กรรม วช.
                                                                                                                วช.

การจัดท�ำแผนงานรองรับการวจิ ัยและการจดั การความรู้
   เพือ่ พฒั นาการบริหารจัดการระบบนิเวศลมุ่ นำ�้ ฯ

	 ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในฐานะ                      สิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรและอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
หน่วยงานกลางด้านวิจัยของประเทศ ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ              เม่อื วันที่ 24 – 27 ตุลาคม 2557 เพ่อื ศกึ ษาความเชอ่ื มโยงในการ
การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวเพื่อรองรับ                  บรหิ ารจดั การนำ้� ในเขอื่ นแกง่ กระจานกบั พน้ื ทต่ี น้ นำ้� กลางนำ้� และ
ผลกระทบอันเกิดจากภาวะโลกร้อน และเนื่องในวโรกาส                       ปลายน้�ำ ท่ีรวบรวมความหลากหลายทางชวี ภาพของพนั ธุพ์ ืชและ
เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี      สตั วน์ านาชนดิ รวมทง้ั รบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากประชาชนทอี่ าศยั อยู่
ทรงเจรญิ พระชนมายุ5รอบในวนั ท่ี2เมษายน2558วช.และศนู ยว์ จิ ยั        ในบริเวณใกล้เคียงท่ีได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพ
ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศรว่ มกบั อทุ ยานสง่ิ  ภูมิอากาศ และได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือชี้แจง
แวดล้อมนานาชาติสิรินธร โดยได้รับความร่วมมือกับกระทรวง                รายละเอียดโครงการฯ และแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กร
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานราชการ                      ท่ีท�ำงานด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อวันที่ 29
ท่ีเก่ียวข้อง ร่วมกันศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาต้นแบบ (Model)              ตุลาคม 2557 สรปุ ประเด็นไดด้ ังนี้
การบริหารจัดการลุ่มน้�ำขนาดเล็กด้านทรัพยากรธรรมชาติ                  	 •	 การแลกเปล่ียนประสบการณ์ด้านการประเมินความ
และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอุทยานส่ิงแวดล้อม                    เปราะบางระบบนิเวศและการวางแผนปรับตัวอันเนื่องมาจากการ
นานาชาติสิรินธรและบริเวณใกล้เคียงโดยเฉพาะพ้ืนท่ีลุ่มน้�ำ             เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาค
เพชรบุรี ซ่ึงเป็นโครงการแรกในประเทศอาเซียนที่มีการศึกษา              และประเทศไทย
ความสัมพันธ์ของการจัดการพ้ืนที่ลุ่มน�้ำขนาดเล็กแบบบูรณาการ
และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Watershed and                                                                          (อา่ นต่อหนา้ 6)
Climate Change Adaptation) ที่เปน็ แบบอยา่ งที่ดยี ิง่ ในระดบั
ประเทศและระดบั ภูมภิ าค ซง่ึ ภายใตโ้ ครงการดงั กลา่ ว มบี คุ ลากร
จากประเทศลาว กัมพชู า และเวยี ดนาม มารว่ มศกึ ษาวจิ ยั ดว้ ย
	 โครงการฯ น้ี ได้รับการสนับสนนุ จากหน่วยงานในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ได้แก่ องค์กรเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศของ
สหรัฐฯ (USIAD), USIAD-Adapt Asia, United States Forest
Service (USFS), National Center for Atmospheric
Research (NCAR) จดั ท�ำค่มู ือประเมนิ สภาพความเปราะบางและ
ขดี ความสามารถของกลไกชมุ ชนและระบบนเิ วศตา่ ง ๆ ทเี่ ชอ่ื มโยง
กบั การปรับตวั ให้เขา้ กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ กำ� หนด
มาตรการในพ้ืนที่ลุ่มน้�ำขนาดเล็ก กรณีศึกษาอุทยานสิ่งแวดล้อม
นานาชาติสิรินธรและพื้นท่ีต่อเน่ืองอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็น
ตัวอย่างส�ำหรบั การขยายผลในประเทศในภูมภิ าคต่อไป
	 ทั้งนี้ คณะผู้เชี่ยวชาญจากประเทศไทย สหรัฐอเมริกา
ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ได้ลงส�ำรวจพ้ืนท่ีศึกษา ณ อุทยาน

                                                                     5สำ�นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.)

                                                                     National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10