Page 13 - วช
P. 13

วช. เปดตัว


          “ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง”





                                                                           ฟนแลนด ประเทศอิตาลี ประเทศปากีสถาน
                                                                              ประเทศโมรอคโค ประเทศรัสเซีย ประเทศ
                                                                               สหรัฐอเมริกา และประเทศแซมเบีย
                                                                                ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ
                                                                                 ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสนทางประเทศ
                                                                                 (DBAR ICoE ไทย) เกิดจากความ

                                                                                 รวมมือของ 4 หนวยงาน คือ สํานักงาน
                                                                                 คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (NRCT)
                                                                                สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT)
                                                                               สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
          ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤทธิ์ ทรงศิวิไล  Prof.GUO Huadong, CAS     ภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) (GISTDA)
             เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ                                และมหาวิทยาลัยรามคําแหง (RU) โดยมีแผนที่
                                                                             จะบูรณาการขอมูลดานการเปลี่ยนแปลง
                 ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบ สภาพภูมิอากาศ การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การศึกษาวิจัย
          หนึ่งเสนทาง (DBAR) ภายใตโครงการ “หนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง ดานสิ่งแวดลอม การเสริมสรางขีดความสามารถดานการวิจัย รวมทั้ง

          ของจีน” เปนโครงการความรวมมือระหวางประเทศที่ริเริ่ม การดําเนินงานดานตาง ๆ ที่มุงสูเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
          มาจาก 20 ประเทศ ที่มุงสูการแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรู   สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในฐานะ
          เทคโนโลยี และขอมูลขนาดใหญ (Big Earth Data) จากการ สํานักงานเลขานุการรวมสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ
          สํารวจดวยดาวเทียม ขอมูลนี้จะนํามาใชประโยชนในการทํางาน ไดจัดการแถลงขาวเปดตัว “ศูนยความเปนเลิศนานาชาติ
          ดานตาง ๆ 7 สาขา ไดแก การปองกันคุณภาพสิ่งแวดลอม การลด ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง” เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2561
          ความเสี่ยง การบริหารทรัพยากรนํ้า ความมั่นคงทางอาหาร  ณ หองวิภาวดีบอลรูม ซี โรงแรมเซ็นทาราแกรนด เซ็นทรัล
          การพัฒนาเมือง การอนุรักษและการบริหารจัดการทรัพยากร พลาซา ลาดพราว กรุงเทพมหานคร โดยมี ศาสตราจารย

          ชายฝง รวมทั้งมรดกโลก โดยมีเปาหมายเพื่อการพัฒนา นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัย
          ที่ยั่งยืน นอกจากนี้ ศูนย DBAR จะชวยลดชองวางของความ แหงชาติ เปนประธานในการแถลงขาวเปดตัว “ศูนยแหงความ
          รวมมือภายใตโครงการหนึ่งแถบหนึ่งเสนทางของจีนอีกดวย  เปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง” พรอมทั้ง
                 ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่ง ลงนามบันทึกความเขาใจเพื่อความรวมมือทางวิชาการรวมกับ
          เสนทางในประเทศไทยเปนศูนย 1 ในจํานวน 8 ศูนยทั่วโลก  Prof.GUO Huadong, CAS จาก Chinese Academy of
          ที่ไดมีการจัดตั้งในประเทศตาง ๆ ไดแก ประเทศไทย ประเทศ Science (CAS)
























         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16