Page 8 - วช
P. 8

มหัศจรรยแหงพลังธรรมชาติ



                           กับการสรางสรรคผลงานศิลปกรรม*



                                                                            ผูชวยศาสตราจารยยอดชาย  พรหมอินทร
                                                                                              มหาวิทยาลัยทักษิณ




















                                                                                   ภาพที่ 1  การบันทึกภาพแสงทไวไลท


                 มหัศจรรยแหงพลังธรรมชาติ กับการสรางสรรค
          ผลงานศิลปกรรม มีที่มาจากความประทับใจในธรรมชาติที่มีการ
          เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หมุนเวียน แปรเปลี่ยนไปตามฤดูกาล
          สิ่งมหัศจรรยจากธรรมชาติมีอยูมากมาย แตสิ่งที่นาสนใจคือ
          พลังของแสงสีที่ปรากฏในชวงเชาตรูและแสงสีในตอนพลบคํ่า
          หรือเรียกวาชวงทไวไลท แสงทไวไลท คือ แสงทองฟาชวงเวลา
          หลังพระอาทิตยเพิ่งลับขอบฟาในตอนเย็น หรืออีกชวง

          เวลาหนึ่งคือ กอนพระอาทิตยกําลังจะโผลพนเสนขอบฟาใน
          ตอนเชา ประกอบกับความประทับใจในบรรยากาศของความงาม
          ที่ปรากฏจากรูปแบบของจิตรกรรมไทยประเพณี ในเรื่อง     ภาพที่ 2  แสดงการรางภาพจากการซึมซับบรรยากาศจริง
          การใชสี รูปทรง เสน พื้นที่วาง และมิติของความรูสึก การจัด พบวา ความงามที่ปรากฏเกิดจากสุนทรียภาพจากการสราง
          องคประกอบภาพแบบเรียบงาย มีจุดเดนที่เนนความสําคัญ ความสัมพันธและความเปนไปไดของการสรางสรรค บนพื้นฐาน
          ของภาพ ใชมิติของภาพที่ลวงตากันมาประกอบกันใหประสาน ของแนวความคิดที่เกี่ยวกับอิทธิพลของ ความมหัศจรรยแหง
          สัมพันธเชื่อมโยงกัน ใชทิศทางที่ประสานกันเปนจังหวะของ พลังธรรมชาติ ในประเด็น แสง - สี ในชวงทไวไลท ซึ่งจะสงผล
          รูปทรงที่เกิดจากลักษณะรองรอยของการผุกรอนของจิตรกรรม ตอความรูสึกภายในจิตใจ มีผลตอทิศทางของงานจิตรกรรม
          ฝาผนัง ทําใหเกิดมิติภายในภาพ วัตถุประสงคเพื่อหานัยยะ ลักษณะจินตนาการแหงความคิดที่เปนการแสดงออกมาจาก
          ความหมายในรูปทรงตาง ๆ ที่เปนสัญลักษณ และสื่อแทนเพื่อแสดง จิตใตสํานึก มีความสัมพันธและเชื่อมโยงกันในสวนของเนื้อหา
          ความหมายที่มีความสัมพันธกับเนื้อหา ใหกับผลงานสรางสรรค  รูปแบบ ของจิตรกรรมไทยประเพณี กับเทคนิคทางจิตรกรรม
          และเสมือนการคนหา พิจารณา ตรวจสอบตัวตนภายในที่มา ไดอยางมีเอกภาพ สงผลตอความเปนอัตลักษณเฉพาะตนใน
          จากสภาวะจิตใตสํานึกแสดงออกใหเห็นถึงความงามที่สะทอน การสรางสรรค
          จาก จังหวะ สี เสน รูปทรง ที่สัมพันธกันเปนอยางดี ประกอบกับ  การวิจัยเรื่อง “มหัศจรรยแหงพลังธรรมชาติ กับการ

          รองรอยของกาลเวลาที่กําลังจะเสื่อมสลาย  โดยใชเทคนิคสีฝุน  สรางสรรคผลงานศิลปกรรม” ใชวิธีวิจัยแบบสํารวจดวยการ
          และสีอะคริลิค ใชวิธีการระบายเรียบ การตัดเสน การสราง ลงพื้นที่จริง บันทึกภาพเก็บขอมูล โดยกําหนดวิธีการและ
          พื้นผิวดวยเทคนิคตาง ๆ และปดทองคําเปลว ผลการสรางสรรค ขั้นตอนในการศึกษาคนควา ดังนี้


         * ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย แผนงานวิจัยที่มุงเปาตอบสนองความตองการในการพัฒนาประเทศ กลุมการสรางสรรควิชาการงานศิลป
           ประจําป 2559 จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13